งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

2 นโยบายรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นโยบายรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3 การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต 3.3.1 สนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทางของกฎหมายสุขภาพแห่งชาติ โดยเร่งดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยประสานความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจากภาคีพัฒนาในสาขาต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งเสริมบทบาท อปท. ให้มีส่วนร่วมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข

3 นโยบายหลักกรมควบคุมโรค
เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีไทย )เป็นนโยบายหลักและบูรณาการทุกหน่วยงานทุกภาคส่วนมุ่งลดสหปัจจัยเสี่ยงร่วม ที่เป็นสาเหตุของโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังโดยชุมชนได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของชุมชนและยั่งยืน

4

5

6 แนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน
มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและเบาหวาน 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักการให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรงค์สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

7 มาตรการที่ 4 การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรม ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในสถานบริการ
มาตรการที่ 5 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงาน ตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มี ความสำคัญระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6 การนิเทศ กำกับ ติดตาม และ ประเมินผล

8 อัตราป่วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ปี 2550-2552ใน พื้นที่สาธารณสุขเขตที่ 14
สถานการณ์โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในเขต 14 เพิ่มขึ้นอย่างเนื่องทุกปี ซึ่งพบว่าการเกิดโรคเบาหวานในระยะเวลา 1 ปี (ปี ) มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 13.8 หรือ เท่า ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

9 ร้อยละของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
จากโครงการเบาหวานครบวงจร จ. นครราชสีมาปี 2551

10 สถานการณ์โรคและความเสี่ยง ประมาณการประชากรของประเทศไทยสำหรับแต่ละปัจจัยเสี่ยง (ข้อมูลจากการสำรวจ BRFSS) 2548 2550 เบาหวาน 1,530,313 ความดันสูง 3,667,234 อ้วน 1,392,884 สูบบุหรี่ 10,032,420 ดื่มสุรา 17,018,006 เบาหวาน 1,798,366 ความดันสูง 4,296,221 อ้วน 1,717,196 สูบบุหรี่ 9,790,519 ดื่มสุรา 16,532,714

11 ร้อยละของอ้วนอันตราย (BMI 30 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

12 ร้อยละของน้ำหนักเกิน (BMI 25 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

13 ร้อยละของผู้ที่มีรอบเอวเกิน ปี 2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

14 ร้อยละของกินผักหรือผลไม้ผ่านเกณฑ์ (5 หน่วยมาตรฐานต่อวัน) ปี 2548และ 2550 (จากการสำรวจ BRFSS)


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google