งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

2

3 จังหวัดเชียงราย ประชากร 1,198,656 คน
ประชากร 1,198,656 คน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ แห่ง สถานบริการสาธารณสุขเอกชน แห่ง

4 ภาคีเครือข่ายเป้าหมาย
หน่วยงานที่ร่วมดำเนินการ - 16 โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์เชียงราย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย รพ.เอกชน รพ.ค่าย / รพ.มหาวิทยาลัย

5 ความเป็นมาของการดำเนินงาน
พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านยาในโรงพยาบาล : การแพ้ยาซ้ำ ระดับรุนแรง ไม่มีระบบการเฝ้าระวังการแพ้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิที่ชัดเจน ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและการประสานงาน ระหว่าง สสจ., รพศ., รพช., และ รพสต. มุ่งเน้น ความปลอดภัยในระบบยาทั้งในระดับ โรงพยาบาลและชุมชน

6 วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
มี ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ครอบคุลมหน่วยบริการในชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร

7 กลวิธีในการดำเนินงาน
วิเคราะห์สถานการณ์ พัฒนารูปแบบการดำเนินการเครือข่าย (รพ. รพ.สต.) ต่อยอดลงชุมชน (อสม. โรงเรียน ร้านยา สถานพยาบาล วิทยุชุมชน) จัดการความเสี่ยงตามปัญหาที่พบในพื้นที่ การติดตามประเมินผล

8 โครงสร้างการดำเนินงาน

9 ขอบเขตการเฝ้าระวัง แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ : แพ้ยาซ้ำ ผื่นแพ้ยารุนแรง ความเสี่ยงด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบในพื้นที่

10 เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น
เชียงราย APR Model รพช. เครือข่ายภาคประชาชน/อสม./องค์กรท้องถิ่น สถานพยาบาล/ร้านยา หน่วยบริการปฐมภูมิ รพศ. สสจ.เชียงราย

11 เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

12 พัฒนาเครือข่ายระดับโรงพยาบาล

13 พัฒนาเครือข่ายระดับ รพ.สต.

14 พัฒนาเครือข่าย อสม.

15 พัฒนาเครือข่าย ร้านยา

16 พัฒนาเครือข่าย ครู นักเรียน

17 พัฒนาเครือข่าย วิทยุชุมชน
สปอตวิทยุ - แพ้ยา - ปากเสีย - ยาชุด - ชื่อสามัญทางยา

18 เครือข่าย ประชาชน : ผู้นำชุมชน

19 ผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนาเครือข่าย

20 เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา จังหวัดเชียงราย
174 แห่ง รพ.สต. 84 แห่ง 8 แห่ง รพศ. รพช. ร้านยา/สถานพยาบาล โรงเรียน สสจ. อสม. ตัวแทน 13 อำเภอ

21 ผลการดำเนินงาน การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาในชุมชน
การจัดการยาเหลือใช้ ยาขยะ ยาชุด ยาลูกกลอน ยา steroid รถเร่ขายยา ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลอม ไม่มีทะเบียน

22 เกิดระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
รพศ. รพช. รพ.สต.

23 สื่อความรู้/แบบฟอร์มต่างๆ

24 ระบบการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา ระหว่างโรงพยาบาล
รพศ.เชียงราย - ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา (ยกเว้นข้อมูลยา TB,ARV และต้องได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย/ญาติผู้ป่วย) รพช.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ LAN ของ รพ. ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา รพ.สต.ตามภูมิลำเนาของผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลแพ้ยาในระบบ JHCIS

25 เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย : www.crapr.org
ผู้ที่เข้าถึงข้อมูล - รพศ. /รพช. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาในภูมิลำเนา และที่เคยมารับบริการ รพ.สต. เข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยาตามภูมิลำเนา

26 ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ
ข้อมูลรายละเอียดการแพ้ยา จาก รพ./รพ.สต.ในภูมิลำเนาของผู้ป่วย ข้อมูลผู้ป่วยแพ้ยา จากการค้นหาตามหน่วยบริการ

27 ค้นหาข้อมูลตามหมายเลขบัตรประชาชน
ข้าพเจ้าได้อนุญาตให้เผยแพร่ข้อมูล อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้กับเครือข่ายบริการสาธารณสุขในภูมิลำเนา รพ./รพ.สต (ระบุหน่วยงาน) ลายมือชื่อผู้ป่วย/ผู้ปกครอง

28 ผลลัพธ์จากการพัฒนาเครือข่าย รพ.สต.
เกิดระบบส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จาก รพ.สต. ถึง โรงพยาบาลเครือข่าย

29 ผลการดำเนินงาน ปี 2553 - 2555 ประเด็นติดตาม ผลการดำเนินงาน
จำนวนข้อมูลที่ส่งต่อ จาก โรงพยาบาลเชียงราย ถึงโรงพยาบาลชุมชนในเขตจังหวัดเชียงราย 5,765 รายงาน แพ้ยาซ้ำในระบบ ของทุก รพ.ในเครือข่าย 35 รายงาน

30 พบ case ผื่นแพ้ยารุนแรง เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต

31 การประชุมเชิงปฏิบัติการ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิดผื่นแพ้ยารุนแรง จังหวัดเชียงราย : 3 มิถุนายน 2554

32 ระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ รพ.สต.
ส่งต่อสู่โรงพยาบาลระดับที่สูงกว่า ทุกกรณี โรงพยาบาลชุมชน ประเมิน SCORTEN ถ้าได้ 1 – 2 สามารถขอคำปรึกษาและรักษาเองได้ ถ้า SCORTEN > 3 ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลศูนย์ รับปรึกษาและส่งต่อ

33 ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
สายตรง แพทย์ skin รพ.ศูนย์ โทร 080 xxx xxxx หากไม่สามารถติดต่อได้ โทรเข้า OPD skin เบอร์ ต่อ 2118 (ติดต่อแพทย์ที่ออกตรวจในวันนั้น) ใช้ส่งรายละเอียดผู้ป่วยหรือรูปถ่ายผื่น หลังส่ง ควรส่ง SMS แจ้งว่าส่งแล้ว 33

34 ระบบการขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
แผนกโรคผิวหนัง โรงพยาบาลเชียงราย ต้อง Add as Friend ก่อน เพื่อจำกัดการเข้าถึงข้อมูล ระมัดระวังเรื่องความลับและสิทธิผู้ป่วย 34

35 แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เกิด SJS / TEN
SCORTEN Vital signs Skin Eyes 35

36 Mouth Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy
Genitalia & anus Labs Nutrition Medication Counseling Pharmacy 36

37 ผลการดำเนินงาน โรงพยาบาลในเครือข่ายได้มีการประยุกต์ใช้แนวทางดังกล่าวในการดูแลผู้ป่วยผื่นแพ้ยารุนแรง จากการติดตามไม่พบเหตุการณ์การแพ้ยาซ้ำที่รุนแรง ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต

38 ผลการดำเนินงาน เกิดกระบวนการเรียนรู้ของเภสัชกร ในเวทีถอดบทเรียนเรื่องการพัฒนาเครือข่ายการทำงาน

39 ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
ความสำเร็จของการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ ไม่เท่ากัน ขึ้นกับบริบท ต้นทุนเดิมของพื้นที่ ทักษะการทำงานในชุมชน ของแต่ละพื้นที่

40 แผนการดำเนินงาน - ต่อยอดเครือข่ายการทำงาน การเฝ้าระวังและจัดการความปลอดภัยจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้เข้มแข็งและยั่งยืน - มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากการดำเนินงานขยายสู่การพัฒนาระบบยาในเรื่องอื่นๆ และการคุ้มครอง ผู้บริโภค

41 ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย
เรื่องแพ้ยาไม่มีใคร อยากจะแพ้ เราต้องร่วมช่วยกันแก้ อย่าแพ้ซ้ำ ทั้งติดปก ลงประวัติ บัตรช่วยจำ ระบบคอมนำเครือข่าย ช่วยปลอดภัย

42 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google