งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร

2 ความเป็นมา PMQA ปี 2552 ในหมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM 4) กำหนด
“ให้ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินเพื่อทำให้เชื่อมั่นว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ ทำให้ไม่สามารถดำเนินงานและให้บริการผู้ใช้บริการได้อย่างต่อเนื่อง”

3 สภาพชีวิตที่เต็มไปด้วยภัยคุกคาม
USA Sep11, 2000 Madrid Bombings March 11,2004 Indonesia Sep9,2004

4 ภัยคุกคามจากการก่อการร้าย

5 ภัยคุกคามต่อความปลอดภัย
Catastrophic events such as the 9/11 and other terror attacks, the Asian Tsunami, and the Gulf Coast hurricanes in the US have galvanized the world’s attention to finding more effective ways to ensure security and safety. Large-scale events such as these have also highlighted the vulnerability of global supply chains. For example, the disruptions to US oil and refining capacity caused by a single hurricane have had significant worldwide consequences to the cost of energy.

6 การจัดการกับอุบัติการณ์
การฟื้นฟู การดำเนินการ ระดับของ เวลา การดำเนินการต่อเนื่อง การเตรียมการ การป้องกัน การตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน อุบัติการณ์ 100%

7 วัตถุประสงค์ ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
การจัดวางระบบเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางเพื่อการกอบกู้ความสามารถของ สมอ.กลับคืนมา และสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

8 แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สมอ.
ประกอบด้วย แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย แผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง : กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์

9 แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย
วัตถุประสงค์ เป็นระเบียบปฏิบัติสำหรับทุกคนเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินขึ้นใน สมอ. นโยบาย ช่วยชีวิตและรักษาผู้ที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย ควบคุมให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด ภาวะฉุกเฉิน = เกิดเพลิงไหม้ใน สมอ.

10 ผู้มีบทบาท TISI-ERT (TISI-Emergency Response Team) คณะตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของ สมอ. ED (Emergency Director) ผู้อำนวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน OC (On Scene Commander) ผู้สั่งการภาวะฉุกเฉิน MC (Mutual Aid Coordinator) ผู้ประสานงาน Fire Chief หัวหน้าชุดปฏิบัติการ Emergency Center ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน Muster Coordinator ผู้ประสานการรวมพล

11 การควบคุมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
แบ่งเป็น 2 ระดับ ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 1 เหตุการณ์ไม่ขยายตัวลุกลาม ไม่มีผู้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือ สามารถควบคุมได้ โดย เจ้าหน้าที่ของ สมอ. ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 เหตุการณ์ที่รุนแรง ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ

12 TISI-ERT คณะตอบโต้ภาวะฉุกเฉินของ สมอ.
กำหนดโครงสร้างการบังคับบัญชา ประกอบด้วย 4 ชุด ชุดปฏิบัติการ ชุดอำนวยการ ชุดปฐมพยาบาล ชุดอพยพ (ภายใต้แต่ละชุดจะมีทีมงานย่อยในแต่ละเรื่อง)

13 แนวทางการปฏิบัติในการควบคุมภาวะฉุกเฉิน
การประกาศภาวะฉุกเฉิน การควบคุมเหตุฉุกเฉิน การควบคุมความเสียหาย การช่วยชีวิต การปฐมพยาบาล ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมภาวะฉุกเฉิน ห้องผู้สื่อข่าวและห้องแถลงข่าว การปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานภายนอก การประสานงานกับหน่วยงานภายนอก/ภายใน

14 แผนควบคุมภาวะฉุกเฉิน : อัคคีภัย
การอพยพ ภาระหน้าที่และขั้นตอนการปฏิบัติ ในภาวะฉุกเฉิน

15 แผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง : กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์
ภารกิจหลักที่สำคัญ 3 ด้าน คือ การกำหนดมาตรฐาน การให้การรับรองผลิตภัณฑ์ และ การส่งเสริมมาตรฐาน

16 วัตถุประสงค์ แนวทางเพื่อกู้ความสามารถของ สมอ.กลับคืนมา สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง และส่งมอบบริการได้ตามที่ได้ตกลงกันไว้ ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบแนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

17 การดำเนินการ ระดมความเห็นเพื่อวิเคราะห์ถึงภัยคุกคามต่างๆ และภัยคุกคามที่มีโอกาสจะเกิด ผลกระทบ และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นใน สมอ. สรุปว่าเป็นเหตุการณ์ไฟไหม้ เนื่องจาก เป็นอาคารเก่า สายไฟฟ้าเก่า มีกระดาษ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ มผช. สี และ Solvent ที่อาจเป็นเชื้อเพลิงได้

18 วิธีการในการจัดทำแผน
ชี้บ่งกิจกรรม หรือ การให้บริการที่สำคัญ ได้แก่ การกำหนดมาตรฐาน การออกใบรับรอง/ใบอนุญาต สารสนเทศ เช่น คู่มือผู้ซื้อ มาตรฐานอ้างอิงในห้องสมุด (Business Impact Assessment : BIA Table 1)

19 วิธีการในการจัดทำแผน
ชี้บ่งผลกระทบที่เกิดจากการหยุดชะงัก และพิจารณาความเปลี่ยนแปลงของผลกระทบเมื่อเวลาผ่านไป (Business Impact Assessment Table 2) สรุปว่า การออกใบรับรอง/ใบอนุญาตมีผลกระทบสูงสุด จึงเลือกมาเป็นบริการเป้าหมายที่จัดทำแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน

20 วิธีการในการจัดทำแผน
กำหนดช่วงเวลาหยุดชะงักที่ยอมรับได้สูงสุดของกระบวนการออกใบอนุญาต 5 วัน จัดกลุ่มกิจกรรม หรือ กระบวนการ ตามลำดับความสำคัญในการฟื้นคืนกลับมาสู่ระดับปกติ และ ชี้บ่งกิจกรรม หรือ กระบวนการที่สำคัญ

21 วิธีการในการจัดทำแผน
ชี้บ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่มีผลต่อ กระบวนการออกใบอนุญาต กำหนดเป้าหมายเวลาในการฟื้นคืนกลับมาของกระบวนการออกใบอนุญาต 5 วัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาหยุดชะงักที่ยอมรับได้สูงสุด ประมาณการทรัพยากรที่ต้องใช้ในการฟื้นคืนกลับมาของกระบวนการออกใบรับรอง/ใบอนุญาต (BCP Work Sheet)


ดาวน์โหลด ppt ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google