งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ
กล่าวทักทาย

2 ประเด็นการนำเสนอ ความหมายของรายได้แผ่นดิน ความหมายของรายได้เงินนอกงบประมาณ การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ ปัญหาที่ตรวจพบจากการบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน และการบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ

3 ประเภทเงินของส่วนราชการ รายได้เงินนอกงบประมาณ
เงินงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน รายได้แผ่นดิน คือ เงินทุกประเภทที่ส่วนราชการจัดเก็บและจะต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ไม่สามารถนำไปใช้ได้ เว้นแต่ มีกฎหมายหรือทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่ออนุญาตให้นำเงินดังกล่าวไปใช้ได้ โดยอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้น ๆ เงินงบประมาณ คือ จำนวนเงินที่มีได้รับอนุญาตให้จ่ายได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณ

4 รายได้แผ่นดิน เก็บรักษา นำส่งคลัง เอกสาร ลงบัญชี ทะเบียนรับเช็ค
รับเงินรายได้ -เงินสด -เช็ค เก็บรักษา นำส่งคลัง RP RP เอกสาร ทะเบียนรับเช็ค การรับเงินรายได้ เงินสด/เช็ค รับรู้เป็นเงินสด เช็คจะต้องมีการจัดทำทะเบียนคุมเช็คและนำส่งภายในวันที่ได้รับหรือวันถัดไป เก็บรักษาเงิน ให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่ถ้าเกิน 10,000 จะต้องนำส่งภายในสามวันทำการ นำส่งคลัง การนำเงินส่งธนาคาร จะต้องโหลดใบ Pay in slip เมื่อนำส่งเงินที่ธนาคารแล้วรับใบรับเงิน Deposit recept จากธนาคารพร้อมตรวจสอบ เอกสาร จากทั้งสามขั้นตอนเราจะได้เอกสารเพื่อการบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน ลงบัญชี ลงบัญชี GL

5 รายได้แผ่นดิน (ต่อ) AP AP GL ขอถอนคืน ภายในปี ข้ามปี รายได้นำส่ง
กม./ระเบียบ/ตกลง กค. รายได้นำส่ง เงินงบประมาณ ขอเบิก รับเงิน ลงบัญชี เอกสาร การขอถอนคืน มี 2 วิธี ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง การถอนคืนภายในปีที่นำส่งเงินให้เบิกจากเงินรายได้ที่นำส่ง แต่ถ้าข้ามปีให้เบิกจากงบประมาณรายจ่ายของปีที่ถอนคืน 2. ด้วยวิธีหักจากรายรับที่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องตกลงกระทรวงการคลัง เช่น การส่งเกิน ส่งซ้ำ หรือส่งผิด ซึ่งจะต้องเป็นรายรับประเภทเดียวกัน ขบวนงานการถอนคืน 1.การขอเบิกเช่นเดียวกับการขอเบิกเงินจากระบบ 2.และเมื่อกรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชี หน่วยงานก็เบิกจ่ายให้กับผู้มีสิทธิ 3.ซึ่งกระบวนงานเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีการบันทึกบัญชีทั้งสิ้น AP GL จ่ายเงิน

6 การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง
จัดเก็บรายได้แผ่นดิน (สิ้นปี) รับเงิน (ภายในปีงบประมาณ) ปรับปรุงบัญชี (สิ้นปีงบประมาณ) นำส่งเงิน (ปีงบประมาณใหม่) อธิบายความสัมพันธ์ของกระบวนงานรายได้แผ่นดินรอนำส่ง ทำไมจึงต้องปรับปรุงบัญชี รับเงินตอนไหน ปรับปรุงตอนไหน และบันทึกนำส่งเงินตอนไหน

7 การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน
การบันทึกรับเงิน ZRP_RA/นส 01 DR. เงินสดในมือ  11,000 CR. รายได้(ระบุประเภท) นำเงินส่งธนาคาร Auto ประเภท CJ ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอน รายได้แผ่นดินให้ บก. พักเงินนำส่ง/พักรอ Clearing (เช็ค) บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R1/สน 02-1 พักเงินนำส่ง ขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1.ให้บันทึกรับเงินทันทีที่หน่วยงานจับเก็บรายได้ 1.1 รับเงินสด และรับรู้รายได้ 2.หลังจากนั้นเราก็นำเงินไปส่งที่ธนาคาร 2.1 ใบนำส่งเงิน pay in slip เน้นให้โหลด ที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายเท่านั้น 2.2 ใบรับเงิน Deposit reciedt 2.3 คู่บัญชี 3. บันทึกนำส่ง

8 รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี
รายงานงบทดลอง รหัสหน่วยงาน ตม.จว.อุบลราชธานี ประจำงวด 001 ถึง 09 ประจำปี 2008 บัญชีแยกประเภท เดบิต เครดิต ยอดยกไป เงินสดในมือ 11,000.00 0.00 เงินทดรองราชการ 600,000.00 พักเงินนำส่ง พักรอ Clearing เงินฝากคลัง 773,840.22 -1,162,215.17 366,546.56 ครุภัณฑ์อื่น 1,712,908.83 คสส ครุภัณฑ์อื่น -1,712,896.82 จ/น การค้า-ภายนอก 8,739,461.10 -8,739,461.10 รับสินค้า / ใบสำคัญ 8,848,406.79 -8,848,406.79 จน.อื่น-หน่วยงานรัฐ 2,083,166.19 -2,083,166.19 W/H tax-บุคคล(03) 39,945.33 -39,945.33 42XXXXXXXX ร/ดที่(ระบุประเภท) ร/ดจากการบริจาค -18,698.90 TR-สรก.รับเงินนอก -1,162,190.12 T/R-ปรับเงินฝากคลัง 25.05 -773,840.22 -773,815.17 เงินเดือน 19,686,374.00 -7,382,254.00 12,304,120.00 เงินประจำตำแหน่ง 44,800.00 -16,800.00 28,000.00 T/E-โอนเงินให้สรก. 773,815.17 T/E-โอนร/ดผ/ดให้บก. T/E-ปรับเงินฝากคลัง 1,162,190.12 อธิบายความสัมพันธ์ตามขั้นตอนการบันทึก

9 เอกสารนำส่งเงินธนาคาร
-สังเกตรหัสบาร์โค้ต และชื่อหน่วยงาน -จำนวนเงิน -ช่องประเภทการนำส่ง

10 -หนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน-
สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 11,000.00 11,000.00 สาขาย่อยอุบลฯ สาขาอุบลฯ สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 11,000.00 สังเกต จำนวนเงินให้ตรงกับประเภทนำส่ง ความสำพันธ์ของ คีย์อ้างอิง 3 0.00 -หนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน- 11,000.00

11 รายงานแสดงเงินรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้และนำส่งคลัง (ZRPE_R001)
รายงานแสดงการจัดเก็บและนำส่งรายได้ของตนเอง เป็นรายงานที่สามารถเรียกเป็นงวด -แสดงการจัดเก็บรายได้โดยแยกตามประเภทรายได้ ความหมายของเลขหมวดรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่จัดเก็บแต่ละประเภทรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่นำส่งแล้ว -แสดงจำนวนเงินคงเหลือจากรายได้ที่จัดเก็บแต่ยังไม่ได้นำส่ง -อีกทั้งยังแสดงภาพรวมของเงินรายได้ที่จัดเก็บและยังไม่ได้นำส่ง ประโยชน์ของรายงานตัวนี้ช่วยให้เราทราบว่ามีรายได้ประเภทใดบ้างที่ยังไม่นำส่ง ถ้าสังเกต หากมียอดรายได้ที่ยังไม่นำส่ง คิดว่าจะมีรายงานใดอีกมั๊ยค่ะที่จะมียอดเงินให้เห็นค่ะ

12 การบันทึกบัญชีขอถอนคืนรายได้แผ่นดิน
บันทึกขอถอนคืนรายได้แผ่นดิน ZFB60_K6/ขบ 06 Dr. รายได้ที่ไม่ใช้ภาษีอื่นจ่ายคืน 1,000 Cr. ใบสำคัญค้างจ่าย ระบบบันทึก Auto ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินถอนคืนรายได้จากรัฐบาล บก.สั่งจ่ายเงินเข้าบัญชี ส่วนราชการ เงินฝากธนาคาร(เงินงบประมาณ) บันทึกจ่ายชำระให้ผู้มีสิทธิ ZF_53_PM/ขจ 05 -เมื่อไหร่จึงจะสามารถบันทึกขอเบิกถอนคืนรายได้ ขั้นตอนการบันทึก ลงรายละเอียดแต่ละขั้นตอน

13 รหัสหน่วยงาน 25007001865 ตม.จว.อุบลราชธานี
รายงานงบทดลอง รหัสหน่วยงาน ตม.จว.อุบลราชธานี ประจำงวด 001 ถึง 09 ประจำปี 2008 บัญชีแยกประเภท เดบิต เครดิต ยอดยกไป เงินสดในมือ 11,000.00 0.00 เงินทดรองราชการ 600,000.00 พักเงินนำส่ง พักรอ Clearing เงินฝากคลัง 773,840.22 -1,162,215.17 366,546.56 ง/ฝ ธนาคาร-ในงปม. 1,000.00 ค้างรับจาก บก. ครุภัณฑ์อื่น 1,712,908.83 คสส ครุภัณฑ์อื่น -1,712,896.82 ใบสำคัญค้างจ่าย รับสินค้า / ใบสำคัญ 8,848,406.79 -8,848,406.79 ทุนของหน่วยงาน -31,949,940.31 42XXXXXXX ร/ด(ระบุประเภท) ร/ดที่ไม่ใช่ภาษีอื่นจ่ายคืน ร/ดจากการบริจาค -18,698.90 TR-รับเงินถอนคืนรายได้ฯ TR-สรก.รับเงินนอก -1,162,190.12 T/R-ปรับเงินฝากคลัง 25.05 -773,840.22 -773,815.17 เงินเดือน 19,686,374.00 -7,382,254.00 12,304,120.00 T/E-โอนเงินให้สรก. 773,815.17 T/E-โอนร/ดผ/ดให้บก. T/E-ปรับเงินฝากคลัง 1,162,190.12 บรรยายความสัมพันธ์แต่ละบัญชีที่บันทึก

14 รายงานแสดงสรุปการจัดเก็บ นำส่งและถอนคืนรายได้(ZRP_R02)
รายงานแสดงการจัดเก็บและนำส่งรายได้ของตนเอง เป็นรายงานที่สามารถเรียกเป็นงวด -แสดงการจัดเก็บรายได้โดยแยกตามประเภทรายได้ ความหมายของเลขหมวดรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่จัดเก็บแต่ละประเภทรายได้ -แสดงจำนวนเงินที่นำส่งแล้ว -แสดงจำนวนเงินคงเหลือจากรายได้ที่จัดเก็บแต่ยังไม่ได้นำส่ง -อีกทั้งยังแสดงภาพรวมของเงินรายได้ที่จัดเก็บและยังไม่ได้นำส่ง ประโยชน์ของรายงานตัวนี้ช่วยให้เราทราบว่ามีรายได้ประเภทใดบ้างที่ยังไม่นำส่ง ถ้าสังเกต หากมียอดรายได้ที่ยังไม่นำส่ง คิดว่าจะมีรายงานใดอีกมั๊ยค่ะที่จะมียอดเงินให้เห็นค่ะ วัตถุประสงค์ : เพื่อดูเรียกรายงานของเงินรายได้แผ่นดินที่ทำการจัดเก็บและรายได้ที่นำส่งคลัง เรียกดูผ่านเครื่อง GFMIS Terminal เมนู : SAP Menu ส่วนเพิ่มเติม ส่วนเพิ่มเติม – ระบบรายได้และการนำส่งรายได้  รายงาน  ZRP_RPT001-รายงานแสดงเงินรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้ และนำส่งคลัง รายงานสามารถ Drill down โดยการ double click ที่บรรทัดรายการเพื่อดูรายละเอียดได้ ใน Column รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บได้ และ Column รายได้แผ่นดินที่นำส่งคลัง โดยสามารถดูได้ถึงเอกสารที่บันทึกในระบบ

15 การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง
บันทึกรับเงิน ZRP_RA/นส 01 Dr. เงินสดในมือ 8,000 Cr. รายได้(ระบุประเภท) บันทึกปรับปรุงบัญชี ZFV 50_SQ/บช04 เป็นเอกสารพัก Dr. รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ 8,000 Cr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง กรมบัญชีกลาง ผ่านรายการ Auto ส่วนราชการ Dr. ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-รายได้แผ่นดินรอนำส่ง 8,000 Cr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง กรมบัญชีกลาง รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ รายได้ระหว่างหน่วยงาน-รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง อธิบายก่อนสิ้นปีงบประมาณ อธิบายบันทึกรับเงิน บันทึกปรับปรุงบัญชีและขาบัญชี Auto บัญชีรายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วนราชการ รหัสบัญชี เป็นบัญชีฝั่งกรมบัญชีกลาง กรณีหน่วยงานได้รับเงินรายได้แผ่นดินแล้ว แต่นำส่งไม่ทัน ภายในวันที่ 30 กันยายน XXXX คู่บัญชีที่เกิดขึ้นแล้วตอนรับเงิน คือ Dr. เงินสดในมือ Cr. รายได้ (41... , 42...) ดังนั้น จึงต้องปรับปรุงบัญชีรายได้แผ่นดินรอนำส่ง ณ วันที่ 30 กันยายน XXXX เพื่อรับรู้รายการบัญชีตามหลักเกณฑ์คงค้าง กรมบัญชีกลาง กลับรายการ ต.ค. XX Dr. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง 8,000 Cr. รายได้จากรัฐบาลรอรับ จากส่วนราชการ

16 งบทดลอง ณ 30 ก.ย. XX ยกตัวอย่างงบทดลอง (จำลอง) เมื่อบันทึก -รับเงิน
กรมบัญชีกลาง Dr.รายได้จากรัฐบาลรอรับจากส่วน ราชการ ,000 Cr.T/R-รายได้แผ่นดิน รอนำส่งคลัง ,000 ยกตัวอย่างงบทดลอง (จำลอง) เมื่อบันทึก -รับเงิน -ปรับปรุงบัญชี -กรมบัญชีกลางผ่านรายการ

17 รายงานแสดงรายได้แผ่นดินรอนำส่ง(ZRP_R04)
งบทดลอง 1 ต.ค.xx นำเงินส่งธนาคาร บันทึกนำส่ง อธิบายงบทดลอง ณ 1 ต.ค. ของปีงบประมาณใหม่

18 รายได้เงินนอกงบประมาณ
เงินนอกงบประมาณที่ฝากคลัง เงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง อธิบายประเภทของเงินนอก -เงินทุนหมุนเวียน -เงินรับฝาก 1.เงินนอกงบประมาณฝากคลัง ยกตัวอย่าง 2.เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์ ยกตัวอย่าง

19 การบันทึกรับเงิน ZRP_RB/นส 01 บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R2/สน 02-1
DR. เงินสดในมือ  5,000 CR. รายได้เงินนอกงบประมาณ /เงินรับฝากอื่น นำเงินส่งธนาคาร Auto ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอน เงินนอกงบประมาณให้ บก. พักเงินนำส่ง/พักรอ Clearing (เช็ค) บันทึกนำเงินส่งคลัง ZRP_R2/สน 02-1 พักเงินนำส่ง อธิบายขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1.รับเงิน 2.นำส่งเงิน 3.บันทึกนำส่งเงิน 4.การปรับปรุงบัญชีเงินฝากคลัง ปรับเงินฝากคลัง ZRP_RX Dr. เงินฝากคลัง 5,000 Cr. เงินรับฝากส่วนราชการ

20 เอกสารได้นำเงินส่งธนาคาร
เน้นย้ำการโหลดใบ Pay in slip ด้วยรหัส หน่วยเบิกจ่าย ตรวจจำนวนเงิน ประเภทการนำส่งเงิน

21 เอกสารได้รับจากธนาคาร
สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 5,000.00 5,000.00 ตม.จว.อุบลราชธานี คลังจังหวัดอุบลราชธานี 0.00 0.00 ตรวจสอบความถูกต้องก่อนออกจากธนาคารให้ตรงตามประเภทเงินที่นำส่ง 5,000.00 -ห้าพันบาทถ้วน- $$$$ 5,000.00

22 อธิบายคู่บัญชีที่เกิดเมื่อบันทึกหรือเกิดรายการทางบัญชี

23 อธิบายวิธีการดูรายงาน

24 ปัญหาที่ตรวจพบ 1.นำส่งเงินมากกว่า 1 ประเภทเงินต่อหนึ่งใบ pay in slip
2.นำส่งเงินโดย ติ๊กประเภทเงินผิดประเภท 3. บันทึกบัญชีไม่ครบทุกขั้นตอน 3.1 ไม่บันทึกรับเงินแต่บันทึกนำส่งเงิน = ทำให้บัญชีเงินสดฯ ติดลบ 3.2 มีการบันทึกรับเงินและนำเงินส่งธนาคาร แต่ไม่บันทึกนำส่งเงิน = ทำให้บัญชีเงินสดฯ ในระบบมีจำนวนเงิน ไม่ตรงกับรายงานเงินคงเหลือประจำวันของหน่วยงาน 3.3 ไม่บันทึกปรับเพิ่มเงินฝากคลัง = บัญชีเงินฝากคลังไม่ตรงกับข้อเท็จจริง

25 ข้อผิดพลาด ผลกระทบ 1.ไม่บันทึกรับเงิน เงินสดติดลบ
2. บันทึกนำส่งเงินซ้ำ 3. ไม่บันทึกรับและนำส่งเงิน บัญชีพักเงินนำส่งคงค้าง 4.ไม่บันทึกนำส่งเงิน รายงานเงินคงเหลือในระบบไม่ตรงกับข้อเท็จจริง 5.บันทึกรับเงินซ้ำ 6.ไม่ปรับทึกปรับปรุงเงินฝากคลัง ข้อมูลเงินฝากคลังไม่ถูกต้อง


ดาวน์โหลด ppt การบันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน การบันทึกบัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google