งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดย ... นายประเสริฐ ตันสาโรจน์วนิช หัวหน้ากลุ่มงานบรรจุแต่งตั้ง

2 ความหมาย .... แต่งตั้ง”หมายความว่า เป็นการสั่งให้ข้าราชการมีอำนาจหน้าที่และรับผิดชอบงานในตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง และมีสิทธิที่จะได้รับเงินเดือนตามตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง

3 ความหมาย .... ย้าย”หมายความว่า การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผู้ดำรงตำแหน่งหนึ่งให้ดำรงตำแหน่งอื่นในกรมเดียวกัน ซึ่งจะเป็น ตำแหน่งประเภทเดียวกันหรือต่างประเภทกัน ก็ได้ กรมเดียวกัน ประเภทเดียวกัน ต้องยินยอม ต่างประเภท ระดับที่ดำรงอยู่ สายงานเดียวกัน ต่างสายงาน ระดับต่ำกว่าเดิม การยินยอม : การย้ายระดับต่ำกว่าเดิม การย้ายประเภทและระดับเดียวกัน แต่เงินประจำตำแหน่งลดลง การย้ายข้ามประเภทบางกรณี ระดับเดิม/ต่ำกว่าเดิม

4 มาตรา 57, มาตรา 63, มาตรา 132, มาตรา 137
 กฎหมาย/หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง (กรณีย้ายข้าราชการ) มาตรา 57, มาตรา 63, มาตรา 132, มาตรา 137 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กฎ ก.พ. กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ. 2551

5 หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0708/ว 9 ลว.12 พ.ค.35
 กฎหมาย/หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง (กรณีย้ายข้าราชการ) หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0708/ว 9 ลว.12 พ.ค.35 ที่ นร 1006/ว 12 ลว.11 ธ.ค.51 ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.51 ที่ นร 1006/ว 7 ลว.6 มี.ค.52 ที่ นร 1006/ว 8 ลว.9 มี.ค.52 หนังสือสำนักงาน ก.พ.

6 *ใช้ในกรณีย้ายสับเปลี่ยนตำแหน่งระดับ ชก./ชง.ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน
 กฎหมาย/หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง (กรณีย้ายข้าราชการ) หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /403 ลว.4 พ.ย.52 *ใช้ในกรณีย้ายสับเปลี่ยนตำแหน่งระดับ ชก./ชง.ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน ที่ นร 1008/ว 40 ลว.30 ก.ย.53 *ใช้ในกรณีย้ายระดับ ปก. ไปลงเลขตำแหน่งระดับ ชก. หรือย้าย ชก. ไป ลงเลขตำแหน่งระดับ ปก. และในกรณี ระดับ ชง.และ ปง. ก็เช่นเดียวกัน หนังสือสำนักงาน ก.พ.

7 ความหมาย .... รักษาราชการแทน”เป็นกรณีที่ผู้ดำรง
ตำแหน่งซึ่งเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการ ปฏิบัติราชการไม่อาจปฏิบัติราชการตาม อำนาจหน้าที่ได้ อันเนื่องมาจากไปราชการ ลากิจ ลาป่วย ลาพักผ่อน เป็นต้น จึงแต่งตั้งให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แทน

8 คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน
 กฎหมาย/หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง กรณี รักษาราชการแทน มาตรา 47 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 พ.ร.บ.ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน ที่ 516/2552 ลว.18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน

9 จุดสังเกตุที่พบบ่อย การใช้คำสั่ง รกท. ใช้กับ หัวหน้าส่วนราชการ -ระดับจังหวัด คือ พัฒนาการจังหวัด -ระดับอำเภอ คือ พัฒนาการอำเภอ *ผู้ลงนามในคำสั่ง คือ ผู้มีอำนาจตาม มาตรา 57 (11) แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

10 ความหมาย .... รักษาการในตำแหน่ง”เป็นกรณีที่ตำแหน่ง
ข้าราชการพลเรือนสามัญว่างลง หรือ ผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ และเป็นกรณีที่มิได้บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่น พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

11 มาตรา 68 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551
 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (กรณีรักษาการในตำแหน่ง) มาตรา 68 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551

12 จุดสังเกตุที่พบบ่อย การใช้คำสั่ง รกน. ใช้กับ หัวหน้ากลุ่มงาน และ หัวหน้าฝ่ายอำนวยการ *ผู้ลงนามในคำสั่ง คือ ผู้มีอำนาจตาม มาตรา 57 (11) แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

13 ความหมาย .... ปฏิบัติหน้าที่ หรือเรียกอีกอย่างว่า
ช่วยราชการ”เป็นการแต่งตั้งข้าราชการให้ไป ปฏิบัติหน้าที่อีกที่หนึ่ง อาจจะเป็นกรณีให้ ข้าราชการผู้นั้นไปปฏิบัติงานเฉพาะกิจ จนกว่างานจะเสร็จสิ้นเพื่อประโยชน์ ของทางราชการ

14 มาตรา 57 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 กฎหมาย/หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง กรณี ปฏิบัติหน้าที่ มาตรา 57 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 พ.ร.บ.ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534

15 จุดสังเกตุที่พบบ่อย การใช้คำสั่ง รักษาราชการแทน (รกท.) และ คำสั่ง รักษาการในตำแหน่ง (รกน.) เป็นการให้อำนาจเต็มทางการบริหารในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ส่วนคำสั่งปฏิบัติหน้าที่ (ปนท.) เป็นการช่วยราชการ แต่ไม่มีอำนาจในการบริหารตามตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง

16 ความหมาย .... การออกจากราชการ หมายถึง
การพ้นสภาพการเป็นข้าราชการ ซึ่งอาจเกิดขึ้น ตามสภาพที่ไม่อาจเป็นข้าราชการต่อไปได้ หรือตามความประสงค์ของตัวข้าราชการเอง หรือตามดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชา ซึ่งจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.พ. กำหนด

17 มาตรา 57, มาตรา 109 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (กรณีลาออกจากราชการ) มาตรา 57, มาตรา 109 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ระเบียบ ก.พ.ว่าด้วยการลาออกจากราชการ พ.ศ. 2551 -ระเบียบ ก.พ.ว่าด้วยวันออกจากราชการ พ.ศ. 2554 ระเบียบ ก.พ.

18 หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.51
 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (กรณีลาออกจากราชการ) หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.51 หนังสือสำนักงาน ก.พ.

19  การให้ข้าราชการออกจากราชการเพื่อให้ได้ รับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน
 การให้ข้าราชการออกจากราชการเพื่อให้ได้ รับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน สำนักงาน ก.พ. ได้ออก กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ ข้าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการ กรณีเจ็บป่วย ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนเองได้โดยสม่ำเสมอ พ.ศ. 2556

20 มาตรา 57, มาตรา 110 (1) แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ให้ออกจากราชการกรณี ให้ได้รับบำเหน็จบำนาญทดแทน ) มาตรา 57, มาตรา 110 (1) แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ระเบียบ ก.พ. ระเบียบ ก.พ.ว่าด้วยวันออกจากราชการ พ.ศ. 2554

21 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการสั่งให้ข้าราชการพลเรือน
 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ให้ออกจากราชการกรณีเพื่อ ให้ได้รับบำเหน็จบำนาญทดแทน ) กฎ ก.พ. กฎ ก.พ. ว่าด้วยการสั่งให้ข้าราชการพลเรือน สามัญออกจากราชการ กรณีเจ็บป่วยไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ราชการของตนได้โดยสม่ำเสมอ หนังสือสำนักงาน ก.พ. หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 4 ลว.22 ก.พ. 56

22 Q & A


ดาวน์โหลด ppt การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google