งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเสนอการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเสนอการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเสนอการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย
การประชุมเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2555 วันที่ มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเมธาวลัย ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

2 วิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ เอกสาร หมายเลข 6 ผลการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เอกสาร หมายเลข 7 การวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ หมวด/ข้อกำหนด สิ่งที่กรมอนามัยดำเนินการ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป เอกสาร หมายเลข 8

3 การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey
เอกสารหมายเลข 4 การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ โดย ... กองแผนงาน & กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

4 การประเมินผลจาก Survey Online
ผลการสำรวจครั้งที่ 1 (1-15ธ.ค.54) เป็นข้อมูลนำไปดำเนินการพัฒนาองค์การโดยจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจออนไลน์ต้องไม่น้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่กำหนด (331 คน) กรมอนามัย มีผู้ตอบแบบสำรวจ 752 คน คิดเป็นร้อยละ ของเป้าหมาย และคิดเป็นร้อยละ ของข้าราชการกรมอนามัย (1,905 คน) หมายเหตุ : บุคลากรกรมอนามัย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 จำนวนทั้งสิ้น 1,905 คน เพศชาย คน ร้อยละ 14.59 เพศหญิง ,627 คน ร้อยละ 85.41 สังกัดส่วนกลาง คน ร้อยละ 26.35 สังกัดส่วนภูมิภาค ,403 คน ร้อยละ 73.65 แหล่งข้อมูล : กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญ หมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น

5 ปัญหาอุปสรรคที่พบจากการสำรวจออนไลน์
ไม่มีการชี้แจงทำความเข้าใจข้อคำถามให้ชัดเจนก่อนการสำรวจ ผู้ตอบ ไม่เข้าใจข้อคำถาม/ เข้าใจไม่ตรงกัน เช่น ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่าย หมายถึงระบบของกรมหรือระบบของหน่วยงาน ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาหมายถึงใครบ้าง คำถามไม่สามารถแยกระหว่าง “ความเห็น” กับ “ความสำคัญ” เป็นการตอบตามความรู้สึก และอารมณ์ ผลการสำรวจเป็นภาพรวมของกรมอนามัย ไม่สามารถจำแนกรายหน่วยงาน ฯลฯ

6 ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวนคน ร้อยละ เพศ ชาย 94 12.50 หญิง 658
 ข้อมูลส่วนบุคคล  จำนวนคน ร้อยละ   เพศ   ชาย  94 12.50  หญิง  658  87.50  อายุ    ปี  54   7.18   ปี  246  32.71   ปี  187  24.87  51 ปีขึ้นไป  265  35.24  ตำแหน่ง   ทั่วไประดับปฏิบัติการ  29   3.86  ทั่วไประดับชำนาญการ  147  19.55  ทั่วไประดับอาวุโส  2   0.27  วิชาการระดับปฏิบัติการ  69  9.18  วิชาการระดับชำนาญการ  384  51.06  วิชาการระดับชำนาญการพิเศษ  101  13.43  วิชาการระดับเชี่ยวชาญ  11  1.46  วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ  -   0.00  อำนวยการระดับต้น  3  0.40  อำนวยการระดับสูง   0.27  บริหารระดับต้น  4  0.53  สถานที่ปฏิบัติงาน   ส่วนกลาง  191  25.40  ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค  561  74.60

7 เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ
คำถาม Gap ความเห็น ความสำคัญ ระบบสารสนเทศ (Systems) 1. ระบบสารสนเทศที่มีช่วยให้ข้าพเจ้าสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง 0.4 3.3 3.7 2. ข้าพเจ้าสามารถค้นหาข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับใช้ในการทำงานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ระบบฐานข้อมูล (Database) 3. ระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นสามารถนำมาใช้สนับสนุนการทำงานได้เป็นอย่างดี 3.2 3.6 4. ระบบฐานข้อมูลสามารถสนับสนุนการสื่อสารองค์ความรู้ และการแลกเปลี่ยนในเรื่องของวิธีการปฏิบัติที่ดี (Best/Good Practices) ภายในส่วนราชการ 5. ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนต่อการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ระบบเครือข่าย (Network) 6. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใน ส่วนราชการ (Network) ช่วยอำนวยความสะดวกต่อการทำงาน ของข้าพเจ้า เฉลี่ยภาพรวม

8 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็น
และความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ ด้านระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย ให้ความสำคัญสูง 3.7 ด้านระบบฐานข้อมูลให้ความสำคัญ 3.6 จากคะแนนเต็ม 4 แสดงว่าผู้ใช้งานสารสนเทศ ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ค่อนข้างสูง ความเห็นต่อระบบทั้ง 3 มีค่า ระดับปานกลางใกล้เคียงกัน และ GAP หรือส่วนต่างระหว่างความสำคัญกับความคิดเห็น = 0.4 ซึ่งไม่สูงนัก โดยสรุปภาพรวมขององค์กรถือว่า Infrastructure ด้าน IT ของกรมอนามัยค่อนข้างดี แต่ควรเน้นเรื่องการปรับปรุงฐานข้อมูลให้ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย เพื่อใช้สนับสนุนการทำงาน สื่อสารองค์ความรู้และแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานที่ดีมากขึ้น สื่อสารให้คนกรมอนามัย รู้จัก และใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้มากขึ้น

9 เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ
คำถาม Gap (0.4) ความเห็น (3.2) ความสำคัญ 19. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม 0.6 2.9 3.5 20. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการของข้าพเจ้ามีการทำงานอย่างซื่อตรงไม่ทุจริตคอร์รัปชั่น 3.0 3.6 7. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ 0.5 3.1 16. ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาให้ความสนใจกับความคิดเห็นของข้าพเจ้าเสมอ 0.4 3.4 9. ข้าพเจ้าสามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชาได้ตลอดเวลารวมทั้งได้รับการสนับสนุน เพื่อให้การทำงานประสบความสำเร็จ 10. ข้าพเจ้ามีอุปกรณ์และวัสดุที่จำเป็นเพียงพอต่อการทำงานให้สำเร็จ 13. สภาพแวดล้อมการทำงานในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข 29. ส่วนราชการของข้าพเจ้าได้นำองค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนางาน ให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 12. ผู้บังคับบัญชาหรือเพื่อนร่วมงานเห็นว่างานที่ข้าพเจ้าทำมีประโยชน์และมีคุณค่า 3.2 22. ข้าพเจ้ามีความสุขกับการทำงานที่รับผิดชอบอยู่ในปัจจุบัน 23. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้ประสบความสำเร็จ 25. การทำงานของข้าพเจ้าไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการใช้เวลากับชีวิตส่วนตัวและครอบครัวของข้าพเจ้า 26. ส่วนราชการของข้าพเจ้าส่งเสริมการทำงานเป็นทีมเพื่อให้เกิดความร่วมมือและการทำงาน ที่มีคุณภาพดี 28. ข้าพเจ้าได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาตนเองในด้านความรู้ความสามารถ ในการทำงานอย่างสม่ำเสมอ 27. ข้าพเจ้าเชื่อว่าผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีที่สุดจากส่วนราชการของข้าพเจ้า 3.3 3.7 15. ข้าพเจ้ามีโอกาสแสดงความคิดเห็นในงานที่รับผิดชอบได้อย่างเต็มที่ 0.3 24. ข้าพเจ้าสามารถกำหนดและดำเนินการตามแผนในการทำงานได้ตามความเหมาะสม 30. ข้าพเจ้ามีความรู้สึกว่างานของข้าพเจ้ามีความท้าทายและช่วยให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ และมีประสบการณ์มากขึ้น 8. ข้าพเจ้ามีความภูมิใจที่ได้ปฏิบัติงานในส่วนราชการนี้ 11. ข้าพเจ้ามีความภูมิใจและมีความสุขที่สามารถทำงานให้สำเร็จตรงตามเป้าหมาย 14. ข้าพเจ้ามั่นใจว่าหน่วยงานของข้าพเจ้าไม่มีการละเมิดหรือคุกคามทางเพศ 17. ข้าพเจ้ามีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจนว่าจะต้องปฏิบัติงานอย่างไร จึงจะทำให้งานประสบความสำเร็จ 21. ข้าพเจ้ายินดีที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานเพื่อให้งานสำเร็จตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย 18. ข้าพเจ้าปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของส่วนราชการ 3.8 (3.6)

10 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ
ข้อ 19. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม ข้อ 20. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการมีการทำงานอย่างซื่อตรงไม่ทุจริต คอร์รัปชั่น ข้อ 7. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ ข้อที่มีค่า GAP กลางๆ คือ 0.4 ให้ความสำคัญระดับกลางๆ คือ เช่นข้อ ซึ่งคำถามสะท้อนบรรยากาศการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานหรือ หน่วยงานเป็นส่วนมาก แนวทางการพัฒนาอาจใช้การเป็นพี่เลี้ยง และให้คำปรึกษา (Coaching and mentoring) การสำรวจความต้องการ หรือเรียนรู้จากผู้ปฏิบัติงาน ข้อที่ผู้ตอบให้ความสำคัญสูง แต่ GAP ไม่สูง ได้แก่ ข้อ ซึ่งเป็นเรื่องที่สะท้อนความสามารถของตนเอง (ว่าเป็นคนดีมีความสามารถ ) อาจไม่ต้องแก้ไขมากนัก

11 สรุป : แนวทางการพัฒนาองค์การกรมอนามัย
ไม่ควรแก้ไขปัญหาโดยการทำแผนเพื่อลด GAP เป็นข้อ ๆ แต่ควรมองในภาพรวมอย่างบูรณาการกัน วิธีการพัฒนา หรือแก้ปัญหา ต้องใช้วิธีการบริหารจัดการองค์กร คือการบริหารคน กับการบริหารงาน ไปด้วยกัน ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง ถ่ายทอดมาที่ระดับกลาง (หัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้างาน) จนถึงผู้ปฏิบัติ โดยหลัก Organization Leadership and communication คือการนำองค์กรและการสื่อสารภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง

12 วิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ เอกสาร หมายเลข 6 ผลการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เอกสาร หมายเลข 7 การวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ หมวด/ข้อกำหนด สิ่งที่กรมอนามัยดำเนินการ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป เอกสาร หมายเลข 8

13 ผลการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากร ต่อการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
เพื่อการติดตามและสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย รวมทั้งรับทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยต่อไป กลุ่มเป้าหมายผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงาน ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำ ที่ปฏิบัติงานในกรมอนามัยทุกคน

14 1. ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน (N = 2,190) ร้อยละ เพศ ชาย 432 19.9
หญิง 1,735 80.1 ประเภทบุคลากร ข้าราชการ 1335 61.8 พนักงานราชการ 252 11.7 ลูกจ้างประจำ 572 26.5 อายุผู้ตอบแบบสอบถาม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 ปี 394 18.4 31-40 ปี 529 24.8 41-50 ปี 531 51-60 ปี 683 32.0

15 1. ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) ข้อมูลทั่วไป จำนวน (N = 2,190) ร้อยละ
ระยะเวลาการทำงานในระบบราชการ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ปี 337 15.8 6-10 ปี 186 8.7 11-20 ปี 526 24.7 21-30 ปี 657 30.8 มากกว่า 30 ปีขึ้นไป 424 19.9 ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานพัฒนาระบบราชการ น้อยกว่า 2 ปี 496 25.2 2-3 ปี 275 13.9 4-5 ปี 317 16.1 6-7 ปี 158 8.0 8 ปีขึ้นไป 726 36.8

16 สินค้า/บริการ เคยใช้บริการ ไม่เคยใช้บริการ 72.2 76.2 68.1 64.2
2. ความพึงพอใจต่อสินค้า/บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย (ระดับความพึงพอใจ: 1= น้อยที่สุด, 2= น้อย, 3= ปานกลาง, 4= มาก, 5= มากที่สุด) 2.1 ร้อยละของผู้เคยใช้บริการและไม่เคยใช้บริการ สินค้า/บริการของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย สินค้า/บริการ เคยใช้บริการ ไม่เคยใช้บริการ 1. องค์ความรู้ 72.2 27.8 2. ข้อมูลข่าวสาร 76.2 23.8 3. แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 68.1 31.9 4. รายงานผลการปฏิบัติงาน 64.2 35.8 5. รายงานการศึกษาวิจัย และ บทวิเคราะห์/สังเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการ 43.9 56.1

17 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.2 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อองค์ความรู้ รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) ตอบสนองต่อความต้องการของท่านและหน่วยงานได้ 3.1 12.3 59.1 23.6 1.8 3.09 2) มีเนื้อหาง่ายต่อการทำความเข้าใจ 3.5 17.0 56.5 21.5 1.4 3.00 3)สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ 2.3 11.7 51.4 31.1 3.6 3.22 4) มีให้เลือกใช้หลากหลายช่องทาง 3.0 16.4 54.4 24.4 3.05 5) มีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการ 16.8 58.1 20.5 1.6 3.01 6) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และครอบคลุมการปฏิบัติงาน 2.4 14.1 55.6 26.1 3.11 7) มีการปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 14.4 56.9 2.1 3.07 8) สามารถเข้าถึงได้ง่าย 3.7 15.8 55.3 3.04

18 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อข้อมูลข่าวสาร รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) ตอบสนองต่อความต้องการของท่านและหน่วยงานได้ 2.8 14.4 55.3 25.7 1.8 3.09 2) มีเนื้อหาง่ายต่อการทำความเข้าใจ 2.9 14.8 55.4 25.3 1.7 3.08 3)สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ 2.3 12.5 50.1 31.8 3.4 3.22 4) มีให้เลือกใช้หลากหลายช่องทาง 2.5 15.7 54.8 24.7 5) มีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการ 3.3 15.3 57.9 21.9 1.5 3.03 6) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และครอบคลุมการปฏิบัติงาน 13.3 56.4 25.8 3.11 7) มีการปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2.6 14.9 56.3 24.1 2.2 8) สามารถเข้าถึงได้ง่าย 3.5 15.1 53.8 25.4

19 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.4 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อแนวทาง การพัฒนาระบบราชการ รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) ตอบสนองต่อความต้องการของท่านและหน่วยงานได้ 4.3 14.5 57.0 22.2 1.9 3.03 2) มีเนื้อหาง่ายต่อการทำความเข้าใจ 18.6 55.5 19.8 1.7 2.96 3)สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ 3.0 14.1 52.2 28.3 2.3 3.13 4) มีให้เลือกใช้หลากหลายช่องทาง 16.3 57.2 21.2 3.04 5) มีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการ 3.5 16.7 57.4 21.0 1.4 3.00 6) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และครอบคลุมการปฏิบัติงาน 3.3 15.2 57.3 22.3 7) มีการปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 3.6 15.8 55.1 23.3 2.2 3.05 8) สามารถเข้าถึงได้ง่าย 4.0 17.7 20.7

20 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.5 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อรายงานผลการปฏิบัติงาน รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) ตอบสนองต่อความต้องการของท่านและหน่วยงานได้ 3.7 14.1 57.5 22.8 1.9 3.05 2) มีเนื้อหาง่ายต่อการทำความเข้าใจ 3.9 14.9 55.9 23.2 2.2 3) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ 11.3 53.6 28.4 2.8 3.15 4) มีให้เลือกใช้หลากหลายช่องทาง 3.2 17.6 54.8 1.5 3.02 5) มีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการ 3.6 17.1 57.1 20.6 1.7 3.00 6) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และครอบคลุมการปฏิบัติงาน 3.4 14.7 56.6 22.2 3.1 3.07 7) มีการปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 15.7 56.1 22.1 2.6 3.04 8) สามารถเข้าถึงได้ง่าย 16.5 54.7 2.9

21 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.6 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อรายงานการศึกษาวิจัยและบทวิเคราะห์/สังเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการ รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) ตอบสนองต่อความต้องการของท่านและหน่วยงานได้ 6.1 17.3 56.7 18.1 1.7 2.92 2) มีเนื้อหาง่ายต่อการทำความเข้าใจ 6.0 17.5 55.4 19.2 1.9 2.94 3) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ 5.5 16.7 50.9 23.9 3.0 3.02 4) มีให้เลือกใช้หลากหลายช่องทาง 19.0 54.7 18.6 2.2 2.93 5) มีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการ 5.9 20.2 53.6 18.3 2.90 6) มีความถูกต้อง ครบถ้วน และครอบคลุมการปฏิบัติงาน 16.4 57.1 18.9 2.1 2.96 7) มีการปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 19.3 54.0 8) สามารถเข้าถึงได้ง่าย 18.2 53.9 20.3 1.6

22 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
2.7 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามต่อคุณภาพการให้บริการ ของเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ประเด็นคำถาม ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1) เจ้าหน้าที่มีความพร้อมในการให้บริการอยู่เสมอ 4.3 13.6 55.6 23.4 3.0 3.07 2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอย่างรวดเร็ว 5.1 16.1 54.3 21.1 3.4 3.02 3) เจ้าหน้าที่เต็มใจให้บริการ มีจิตบริการ ยิ้มแย้มแจ่มใส 4.4 13.7 50.2 26.7 3.14 4) เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความชำนาญ เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ 4.2 12.8 51.7 27.0 5) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเสมอภาค เท่าเทียม และไม่เลือกปฏิบัติ 5.9 15.0 50.8 24.0 3.06

23 ควรปรับปรุงในด้าน (ร้อยละ) ความครบถ้วนของเนื้อหา การง่ายต่อความเข้าใจ
2.8 ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ ต่อการปรับปรุงคุณภาพ สินค้า/บริการ สินค้า/บริการ ควรปรับปรุงในด้าน (ร้อยละ) ความถูกต้อง ความครบถ้วนของเนื้อหา ความทันสมัย การง่ายต่อความเข้าใจ 1) องค์ความรู้ 14.8 25.3 35.5 50.3 2) ข้อมูลข่าวสาร 14.7 23.5 45.9 40.1 3) แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 15.7 24.0 29.2 54.3 4) รายงานผลการปฏิบัติงาน 23.8 29.4 25.9 5) รายงานการศึกษาวิจัย และบทวิเคราะห์/สังเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการ 18.1 27.5 31.3 50.9

24 3.2 ความคิดเห็นต่อช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิผลต่อการรับรู้
ต่อช่องทางการสื่อสาร (ร้อยละ) สารอธิบดีกรมอนามัย/ แผ่นพับ 34.6 ประชุมกรมอนามัย 26.3 การประชุม/อบรม/สัมมนา 62.3 Internet/website 63.9 Intranet 41.9 Social network (เช่น Facebook หรือ Twitter เป็นต้น) 22.3 28.1 โทรสาร 8.7 หนังสือเวียน 66.1 สื่อสารระหว่างบุคคล/โทรศัพท์ 27.2 คู่มือ 46.8 เสียงตามสายกรมอนามัย 21.7 ป้ายประกาศ 32.3

25 ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
3.3 ความพึงพอใจเรื่องการสื่อสารประชาสัมพันธ์ของ กพร. รายการ ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจเลย 1 พึงพอใจน้อย 2 พึงพอใจปานกลาง 3 พึงพอใจมาก 4 พึงพอใจมากที่สุด 5 การสื่อสารประชาสัมพันธ์ 2.0 16.5 65.8 14.0 1.7 2.97

26 4. ความรู้ความเข้าใจต่อเครื่องมือการพัฒนาระบบราชการ
ระดับ 0 = ไม่มีความรู้เลย ระดับ 1 = รู้ว่าคืออะไร (Cognitive Knowledge : Know-What) เป็นความรู้ขั้นพื้นฐานที่อาจจะยังไม่สามารถนำไปปรับใช้ในงานได้ ระดับ 2 = รู้วิธีการ (Advanced Skill : Know-How) เริ่มเกิดความเข้าใจ สามารถนำความรู้ที่มีไปปรับใช้ได้ ระดับ 3 = รู้เหตุผล (System Understanding : Know-Why) เป็นความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง สามารถอภิปรายเกี่ยวกับประสบการณ์ร่วมกับผู้อื่น และสามารถอธิบายเหตุและผลได้ ระดับ 4 = ใส่ใจกับเหตุผล (Self-Motivate Creativity : Care-Why) สามารถนำความรู้มาพลิกแพลง และประยุกต์ได้อย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ๆต่อยอดจากความรู้เดิมได้

27 เครื่องมือการพัฒนาระบบราชการ ระดับความรู้ความเข้าใจ (ร้อยละ)
4.1 ระดับความรู้ความเข้าใจเครื่องมือการพัฒนาระบบราชการ เครื่องมือการพัฒนาระบบราชการ ระดับความรู้ความเข้าใจ (ร้อยละ) 1 2 3 4 1) คำรับรองการปฏิบัติราชการ 9.2 28.3 38.8 20.9 2.9 2) การควบคุมภายใน 8.1 29.1 40.9 19.4 2.5 3) แผนยุทธศาสตร์ 7.1 27.9 42.1 20.2 2.8 4) การบริหารความเสี่ยง 5.4 25.2 43.4 22.3 3.6 5) การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล 6.4 25.8 22.0 6) การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม 9.0 29.8 40.7 18.0 2.4 7) การจัดการความรู้ 4.2 44.9 25.6 3.3 8) การพัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศ 7.4 44.3 18.6 9) คู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) 9.4 27.8 41.2 19.0 10) การบริหารทรัพยากรบุคคล 7.7 18.4 11) PMQA 6.7 28.1 42.4 2.7

28 4.2 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่เคยเข้ารับการอบรม
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ จำนวน ร้อยละ เคยอบรม 488 29.3 ไม่เคยอบรม 1,175 70.7 1,663 100 4.3 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม ต่อระยะเวลา การจัดประชุม/สัมมนา/อบรม จำนวน ร้อยละ 1 วัน 129 14.6 2 วัน 406 45.9 3 วัน 318 36.0 อื่นๆ 31 3.5 884 100

29 5. ระดับการพัฒนาระบบราชการ
ระดับ 1 = ไม่มีการพัฒนา ระดับ 2 = น้อยมาก ระดับ 3 = น้อย ระดับ 4 = ปานกลาง ระดับ 5 = ดี ระดับ 6 = ดีมาก

30 5.1 ความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัย
เรื่องที่พัฒนา ระดับการพัฒนา (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับการพัฒนา 1 2 3 4 5 6 คำรับรองการปฏิบัติราชการ 1.7 6.2 14.4 46.0 28.9 2.8 4.02 การควบคุมภายใน 1.4 5.6 17.8 46.1 26.6 2.5 3.98 แผนยุทธศาสตร์ 1.5 5.2 16.6 46.4 27.1 3.2 การบริหารความเสี่ยง 1.1 5.3 17.7 46.3 26.8 2.7 4.00 การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล 6.1 17.6 48.6 23.5 3.95 การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม 1.8 6.3 18.7 48.0 22.0 3.1 3.91 การจัดการความรู้ 4.8 15.3 44.0 29.6 4.12 การพัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศ 6.0 16.7 48.2 25.3 2.6 คู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) 18.1 46.5 24.8 3.97 การบริหารทรัพยากรบุคคล 1.6 6.5 3.93 PMQA 15.4 27.3 3.6 4.04

31 5.2 ความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน ระดับการพัฒนา (ร้อยละ)
เรื่องที่พัฒนา ระดับการพัฒนา (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ยระดับการพัฒนา 1 2 3 4 5 6 คำรับรองการปฏิบัติราชการ 1.2 6.1 13.6 50.4 26.1 2.7 4.02 การควบคุมภายใน 1.5 5.7 15.8 49.6 24.1 3.3 3.99 แผนยุทธศาสตร์ 1.3 5.1 14.9 50.2 25.7 2.9 4.03 การบริหารความเสี่ยง 1.1 5.6 16.7 49.5 23.7 3.2 การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล 1.4 6.7 16.3 52.0 20.3 3.4 3.93 การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม 1.7 18.3 51.3 19.7 3.90 การจัดการความรู้ 12.9 46.3 30.0 4.7 4.13 การพัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศ 6.0 17.0 50.6 22.3 2.8 3.95 คู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) 1.6 6.4 17.9 21.3 2.4 3.91 การบริหารทรัพยากรบุคคล 1.8 6.8 17.3 51.4 20.2 2.5 3.89 PMQA 15.4 51.1 23.2 3.1

32 กพร. จะได้นำผลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยต่อไป

33 วิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ เอกสาร หมายเลข 6 ผลการศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เอกสาร หมายเลข 7 การวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ หมวด/ข้อกำหนด สิ่งที่กรมอนามัยดำเนินการ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป เอกสาร หมายเลข 8

34 สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป
การนำองค์การ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) การสื่อสารภายในกรมอนามัย 2) ความสอดคล้องของผลการดำเนินงานกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ 3) ต่างคนต่างทำ ทำให้ขาดความเชื่อมโยงระหว่างหมวด 4) การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากกรมถึงหน่วยงาน และจากหน่วยงานถึงบุคลากรแยกส่วนกันดูแล 1) การนำองค์กรต้องเริ่มก่อนโดยผู้บริหารมีส่วนร่วม 2) ปรับปรุงระบบการสื่อสารภายใน  ให้คนกรมอนามัยเข้าใจว่างานที่แต่ละคนทำนั้นตอบสนองการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ของกรม หรือสนับสนุนกรมอนามัยอย่างไร 3) ให้มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมและหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือไม่ อย่างไร 4) หลักเกณฑ์/ข้อกำหนดตามมาตรฐานของเครื่องมือ PMQA เป็นสิ่งที่ดี ควรนำมาดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยอย่างจริงจัง ไม่ใช่ดำเนินการเพียงเพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมินเท่านั้น

35 สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป
การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) ขาดการมีส่วนร่วมของหัวหน้าหน่วยงานในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย 2) กรมส่งแผนยุทธศาสตร์ให้ศูนย์อนามัยค่อนข้างล่าช้า ซึ่งเป็นปัญหาต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว และบางครั้งมีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์เพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน 3) มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลในระบบฐานข้อมูลกลางและระบบ DOC เพื่อกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายค่อนข้างน้อย 1) ให้มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์โดยหัวหน้าหน่วยงานมีส่วนร่วม และถ่ายทอดตัวชี้วัด โดยคำรับรองฯ ให้เสร็จก่อนขึ้นปี ให้นำประเด็นยุทธ์ของกรมทั้งหมดมากำหนดเป็นตัวชี้วัดหน่วยงานให้ครอบคลุมเนื้องานของกรม 2) แผนยุทธศาสตร์ควรประกอบด้วยแผนงาน แผนเงิน แผนพัฒนาบุคลากร และแผนพัฒนาองค์กร และมีระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากกรมถึงหน่วยงาน และบุคลากรที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ 3) ปัญหาการทำงานที่ถูกแทรกแซงทางการเมือง ขอให้นักวิชาการช่วยแปลงนโยบายการเมืองให้เป็นงานเชิงวิชาการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนร่วมกัน

36 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) ยังไม่มีการรวบรวมมาตรฐานงานบริการ ที่ตอบสนองต่อลูกค้าภายนอกและภายใน 2) การเสนองานบริการเพื่อรับการประเมินตามเกณฑ์ ก.พ.ร. มักเลือกจากงานบริการที่จะได้คะแนนง่าย ๆ ไม่ได้พิจารณางานบริการที่ควรปรับปรุงให้ได้มาตรฐานจริงๆ 3) งานบริการที่กรมประเมินความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการคือกระบวนงานถ่ายทอดองค์ความรู้ ไม่ครอบคลุมกระบวนงานหลักของกรมทั้งหมด 1) ให้พิจารณางานบริการที่เป็น Core Process ของหน่วยงาน รวมงานบริการที่ตอบสนองลูกค้าภายในของกรมด้วย  ทำมาตรฐาน (SOP) เผยแพร่ให้ทราบ และประเมินความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจของผู้รับบริการด้วย  งานบริการที่มีอยู่แล้ว ให้ทบทวนและปรับปรุง 2) ให้พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของศูนย์อนามัย ให้ได้มาตรฐาน HA ขั้นที่ 2 ภายในปี 2556 โดยมีเป้าหมายที่ ศอ และ 12 3) ให้สำนักงานเลขานุการกรม วิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเป็นข้อมูลนำเข้าในการประชุมเพื่อกำหนดทิศทางการนำองค์กรที่จะจัดในไตรมาสสุดท้ายด้วย

37 สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป
การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) ข้อมูลในฐานข้อมูลกลางไม่ทันสมัย และเป็นข้อมูลเชิงปริมาณไม่มีการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ 2) ต้องการให้มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์และนำเสนอข้อมูลที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของกระบวนการทำงานที่ส่งผลถึงประชาชนได้ 3) ขาดการสื่อสารและประชาสัมพันธ์เรื่องฐานข้อมูลกลาง และระบบ DOC ให้รับรู้และนำไปใช้ประโยชน์ 4) ข้อมูลเรื่องการเฝ้าระวัง กระจัดกระจายแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ยังไม่มีระบบฐานข้อมูลงานเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของกรมที่ชัดเจน 1) ให้ทุกหน่วยงานมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลตามยุทธศาสต์หรือพันธกิจของหน่วยงาน รวมถึงแนวโน้มในอนาคต และกำหนดเป็นข้อเสนอแนะการดำเนินงานต่อไป ให้ทำอย่างน้อยหน่วยละ ๑ เรื่อง 2) ในฐานข้อมูลกลางควรมีการเชื่อมโยงกับข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อให้ทราบผู้ที่เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ เช่น เรื่องส้วมมีใครเก่งหรือศูนย์ฯไหนมีงานเด่นเรื่องอะไร 3) ให้มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลกลางงานเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

38 สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) 1) การทำเพื่อตอบตัวชี้วัดหมวด 5 ทำได้ครบถ้วน แต่ไม่เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง เช่น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรไม่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกรม 2) ศูนย์มีบุคลากรจำนวนมาก ปฏิบัติงานใน รพ. มีปัญหาการสื่อสารลงไปถึงผู้ปฏิบัติ กลุ่มวิชาชีพต่าง ๆ เช่น แพทย์ พยาบาล นักวิชาการ มีความแตกต่างกันมาก ปฏิบัติงานตามสิ่งที่บอกเล่ากันมามากกว่าใช้กระบวนการ PMQA การพัฒนาทีมงานภายในศูนย์อนามัยจึงเป็นเรื่องสำคัญ 1) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ควรเน้นให้เกาะกลุ่มกันอย่างเข้มแข็ง พัฒนาต่อยอด โครงการที่เคยทำมาแล้วและมีผลดีควรทบทวนเพื่อดำเนินการอีก เช่น นสส. และ นสก. ซึ่งมีความหลากหลายของวิชาชีพในแต่ละรุ่น 2) บุคลากรด้าน back office เป็นกลุ่มสำคัญที่ควรพัฒนาศักยภาพด้วย โดยเฉพาะบุคลากรที่ศูนย์อนามัย 3) การศึกษา ดูงานต่างประเทศ เพื่อให้ก้าวล่วงหน้า 1-2 ก้าวเป็นเรื่องสำคัญ กรมควรสนับสนุนทุนการศึกษา / ดูงานต่างประเทศ 4) การพัฒนาบุคลากร ไม่ควรมองแค่ให้มีความก้าวหน้าเพียงอย่างเดียว แต่ควรพัฒนาเพื่อให้บุคลากรสามารถตอบสนองต่อภารกิจของกรมได้ด้วย

39 สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป
การจัดการกระบวนการ สถานการณ์และสภาพปัญหา ข้อเสนอเพื่อดำเนินการต่อไป 1) กรมอนามัยมีคู่มือปฏิบัติงาน (SOP) กระบวนการสร้างคุณค่าตามพันธกิจหลักของกรม และกระบวนการสนับสนุน ได้แก่กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งได้ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มือแล้วแต่ยังไม่มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงกระบวนการ 1) ควรมีการทบทวนคู่มือปฏิบัติงาน (SOP) และปรับปรุงให้ทันสมัยครบถ้วนตามภารกิจหลักของแต่ละหน่วยงาน รวมทั้งให้มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญเพิ่มเติมด้วย 2) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ทราบปัญหาอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตาม SOP ที่กรมกำหนด

40 แนวทางการดำเนินการระดับกรม
ระบบงานตามหมวดต่าง ๆ ที่ดำเนินการมาแล้ว ให้หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่หลักในเรื่องนั้น ๆ เป็นเจ้าภาพหลักในการกำกับดูแล ให้มีการดำเนินการต่อไป ได้แก่ การนำองค์กร และการสื่อสาร  กพร. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์  กองแผนงาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  สลก. การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้  กองแผนงาน การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล  กองการเจ้าหน้าที่ การจัดการกระบวนการ  สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองคลัง

41 แนวทางการดำเนินการระดับหน่วยงาน
ให้ทุกหน่วยงานมีการพัฒนาองค์กร โดยมีอิสระที่จะเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ ได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เป้าหมายสุดท้ายที่หน่วยงานต้องแสดงให้เห็น เช่น มีแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย และสนองความต้องการของ C/SH มีระบบการรับฟังความคิดเห็นของ C/SH และการจัดการข้อร้องเรียน มีระบบฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าถึงง่าย มีการพัฒนาบุคลากร มีการสร้างบรรยากาศการทำงาน สร้างแรงจูงใจแก่บุคลากร มีการจัดการกระบวนการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลผลัพธ์ที่เกิดขึ้น บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร และส่งผลต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของกรมอนามัย

42 แนวทางการดำเนินการระดับหน่วยงาน
กพร.จัดกิจกรรมเพื่อให้มีการสนับสนุน สร้างความเข้มแข็งให้หน่วยงานต่าง ๆ เช่น การเยี่ยมชม ฯลฯ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการประกวดระหว่างหน่วยงาน และให้รางวัล ฯลฯ

43 พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
เราจะร่วมมือร่วมใจ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ด้วยกันอย่างไรต่อไป


ดาวน์โหลด ppt ข้อเสนอการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google