งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3
สำหรับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2-4 สำหรับ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 หรือระดับ สำหรับ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ในระดับเดียวกัน โดยได้รับ เงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม (มีการเปลี่ยนตำแหน่งเลขที่)

3 1. ข้าราชการที่จะย้ายต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ
ตำแหน่งตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะย้าย หรือได้รับการยกเว้น 2. มีตำแหน่งว่างที่จะย้าย ยกเว้น กรณีย้ายสับเปลี่ยนตำแหน่ง 3. รับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม

4 4. ข้าราชการที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้น
จากระดับ 3 หากจะย้ายไปดำรงตำแหน่งในสายงาน ที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ต้องเป็นผู้สอบแข่งขันได้ ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /ว 12 ลงวันที่ 1 ตุลาคม หรือเป็นผู้ได้รับการ คัดเลือกตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0705/ว 7 ลงวันที่ 18 มิถุนายน 2534

5 5. การย้ายข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นมาดำรง
ตำแหน่งในระดับ 4 ของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 ต้องดำรงตำแหน่งในระดับ 3 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และการย้ายข้าราชการผู้ดำรง ตำแหน่งในสายงานอื่นมาดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ของ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ต้องดำรงตำแหน่งในระดับ 4 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ตามหลักเกณฑ์หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร / ว 3 ลงวันที่ 3 มีนาคม

6 6. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในสำนัก / กอง
เดียวกัน ตั้งแต่ระดับ 6 ลงมา ที่ไม่ใช่หัวหน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้าสำนักงาน ที่ปรากฏตามโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการ กรมฯ มอบอำนาจให้สำนัก / กอง ดำเนินการได้เอง ตามคำสั่งกรมชลประทาน ที่ ข 777 / ลงวันที่ 15 กันยายน 2548 7. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งต่างสำนัก / กอง และ ระดับ 7 ขึ้นไป ต้องส่งเรื่องให้สำนักพัฒนาโครงสร้าง และระบบบริหารงานบุคคล ดำเนินการ

7 สรุปขั้นตอนการดำเนินการ
รับเรื่อง ตรวจสอบคุณสมบัติฯ คุณสมบัติไม่ครบถ้วน แจ้งสำนัก/กอง เจ้าของเรื่อง สงวนตำแหน่ง (กอ.บค.) จัดทำคำสั่ง ทุกวันที่ 15 ของเดือน ตรวจสอบอัตราเงินเดือน (ฝงง.) ขอความเห็นชอบ อธิบดี เสนอรองอธิบดี

8  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)
ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามที่ ก.พ. กำหนด  ส่งเรื่องให้กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง สำนักพัฒนาโครงสร้างฯ เพื่อตรวจสอบและสงวนตำแหน่ง  ส่งเรื่องให้ฝ่ายควบคุมเงินเดือนและค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี เพื่อตรวจสอบอัตราเงินเดือนของตำแหน่งว่าง

9  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)
ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  ส่งเรื่องคืน ฝ่ายสรรหาฯ เพื่อตรวจสอบประวัติของข้าราชการ ที่จะย้าย ดังนี้ 1) ชื่อ – สกุล 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) ชื่อตำแหน่ง 4) ตำแหน่งเลขที่ 5) สังกัด 6) อัตราเงินเดือน

10  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)
ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  จัดทำบันทึกขอความเห็นชอบรองอธิบดี ในสายงานที่รับผิดชอบหน่วยงานนั้น ๆ  ขอความเห็นชอบอธิบดี  จัดทำคำสั่งเสนออธิบดี ลงนามทุกวันที่ 15 ของเดือน

11  การย้ายภายในสำนัก/กอง
ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายภายในสำนัก/กอง 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนด 2. ให้ฝ่ายบริหารทั่วไป เสนอเรื่องไปยังกลุ่มอัตรากำลังและระบบงาน สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล ตรวจสอบและ สงวนตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง และเสนอเรื่องไปยังฝ่ายควบคุมเงินเดือน และค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี เพื่อตรวจสอบอัตราเงินเดือนของ ตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง

12  การย้ายภายในสำนัก/กอง
ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายภายในสำนัก/กอง 3. เสนอคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการย้ายของสำนัก / กอง เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในการย้าย 4. ดำเนินการจัดทำคำสั่ง เสนอผู้อำนวยการสำนัก / ผู้อำนวยการกอง ลงนาม 5. ส่งสำเนาคำสั่ง จำนวน 9 ชุด ให้สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบ บริหารงานบุคคล ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ออกคำสั่ง


ดาวน์โหลด ppt การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google