งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ

2 ข้าราชการ - ยื่นเรื่องขอรับบำเหน็จบำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ
- ขอรับเงินจากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กรณีเป็นสมาชิก * เมื่ออายุครบ 65 ปี ยื่นขอรับบำเหน็จดำรงชีพส่วนที่เกิน 200,000 แต่ไม่เกิน 400,000 บาท * ส่วนเงินที่เหลือ 15 เท่า สามารถจัดทำเรื่องบำเหน็จค้ำประกันเพื่อนำเงินไปใช้ก่อนได้ที่ งานเงินเดือนและค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี ลูกจ้างประจำ ยื่นเรื่องขอรับบำเหน็จปกติ บำเหน็จรายเดือน - ขอรับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (กสจ.) กรณีเป็นสมาชิก * ผู้รับบำเหน็จรายเดือน อายุราชการรวมเวลาราชการทวีคูณ = 25 ปีบริบูรณ์

3 วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ
 กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข. สูตร บำเหน็จ - เงินเดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ สูตร บำนาญ - เงินเดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ 50 หมายเหตุ เศษของปีถ้าถึงครึ่งปีให้นับเป็นหนึ่งปี

4 วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ
กรณีเป็นสมาชิก กบข. สูตร บำเหน็จ - เงินเดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ สูตร บำนาญ - เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ 50 หมายเหตุ บำนาญต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

5 หลักฐานการขอรับบำเหน็จบำนาญ
กรณีขอรับบำเหน็จบำนาญปกติ แบบขอรับบำเหน็จ บำนาญ บำเหน็จดำรงชีพ (แบบ 5300) แบบแจ้งรายการลดหย่อนภาษีเงินได้ผู้รับบำเหน็จบำนาญ (แบบ สรจ.1) สำเนาคำสั่งลาออกจากราชการหรือประกาศเกษียณอายุราชการ แบบหนังสือรับรองและขอเบิกบำเหน็จดำรงชีพ (แบบ สรจ.3) หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษ/บำเหน็จตกทอด แบบคำขอรับเงินผ่านธนาคารและยินยอมให้หักเงินบำเหน็จบำนาญ สำเนาทะเบียนบ้าน/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อ และเลขที่บัญชี *กรณีโสดต้องทำหนังสือแสดงเจตนา เงินช่วยพิเศษ และบำเหน็จตกทอด

6 วิธีการคำนวณบำเหน็จและบำเหน็จรายเดือน
สูตร บำเหน็จ - อัตราค่าจ้างเดือนสุดท้าย x จำนวนเดือนที่ทำงาน 12 บำเหน็จรายเดือน - บำเหน็จที่ได้รับ 50

7 หลักฐานการขอรับบำเหน็จปกติและบำเหน็จรายเดือน
1. แบบขอรับบำเหน็จปกติฯ (แบบ 5313) 2. สำเนาคำสั่งให้ออกจากราชการ ประกาศเกษียณอายุ 4. แบบแจ้งรายการลดหย่อนภาษีเงินได้ (แบบ สรจ.1) 5. สำเนาทะเบียนบ้าน/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 6. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร หน้าที่มีชื่อ และเลขที่บัญชี 7. แบบคำขอรับเงินผ่านธนาคารและยินยอมให้หักเงิน กรณีถึงแก่ความตาย หลักฐานเช่นเดียวกับกรณีการขอรับบำเหน็จ ตกทอดของข้าราชการ กรณีโสดผู้รับบำเหน็จรายเดือนจะต้องทำหนังสือแสดงเจตนาบำเหน็จ ตกทอด

8 การเตรียมความพร้อมในการใช้บัตรทองของลูกจ้างประจำ
- ประกาศเกษียณอายุ - ใบแนบหนังสือสั่งจ่ายจากกรมบัญชีกลาง - ติดต่อสำนักงานเขต หรือ อำเภอ ตามสำเนาทะเบียนบ้านของผู้เกษียณ

9 การแจ้งย้ายที่อยู่หลังเกษียณอายุ
- สำเนาทะเบียนบ้านที่แจ้งย้าย จำนวน 1 ฉบับ พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง - แจ้งงานบำเหน็จบำนาญ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

10 สมาชิก กบข. กลับไปเลือกรับบำนาญสูตรเดิม
สมาชิก กบข. กลับไปเลือกรับบำนาญสูตรเดิม - ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 ทุกคน - แจ้งความประสงค์วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับ ถึงวันที่ 30 กันยายน หน่วยราชการต้นสังกัด - วันที่จะได้รับเงิน กบข. ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เป็นต้นไป โดยเงินที่ได้รับคือ เงินสะสมและผลประโยชน์ , เงินสะสมเพิ่มและผลประโยชน์ (ถ้ามี)

11 - ข้าราชการบำนาญ - แจ้งความประสงค์วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับ ถึงวันที่ 30 กันยายน หน่วยราชการต้นสังกัด - จะได้รับเงินย้อนหลังตั้งแต่วันออกจากราชการถึงวันที่ 30 กันยายน เงินที่ต้องคืนราชการ เงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าวให้กับทางราชการ (ผลต่างสูตรบำนาญ กับเงิน กบข. ยกเว้นเงินสะสมและผลประโยชน์) ด้วยวิธีหักกลบลบกัน * กรณีบำนาญส่วนที่เพิ่มขึ้นต่ำกว่าเงิน กบข. ผู้รับบำนาญต้องคืนเงินทั้งหมด ภายใน 30 มิถุนายน 2557 * กรณีบำนาญส่วนที่เพิ่มสูงกว่าเงิน กบข. ผู้รับบำนาญจะได้รับเงินจากทางราชการโดยจ่ายคืนตามหลักเกณฑ์และวิธีที่กระทรวงการคลังกำหนด

12 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
งานบำเหน็จบำนาญ ฝ่ายทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ ส่วนบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล โทร – 9 ต่อ 2617


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google