ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRawee Phatipatanawong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
2
๑. การขับเคลื่อนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
เรื่องที่ ๑ : ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เรื่องที่ ๒ : ด้านการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ เรื่องที่ ๓ : โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลด ภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่องที่ ๔ : ประชาชนในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการ บริการสุขภาพตามปัญหาพื้นที่
3
๒. การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 16 ข้อ
พัฒนาโครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัด ที่สำคัญในแต่ละ นโยบาย จำนวน ๑๘ โครงการ ๒๖ ตัวชี้วัด กำหนดให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงทุกเขต ผู้บริหารส่วน ภูมิภาค รับทราบและนำโครงการดังกล่าวสู่การปฏิบัติ โดยมีการลงนาม คำรับรองการปฏิบัติราชการกระทรวง สาธารณสุข (MOU)
4
๓. การสร้างเสริมสุขภาพ โดยเน้นอาหารเมนูสุขภาพในโรงพยาบาลให้มีมาตรฐานเดียวกัน
อาหารปลอดภัย อาหารเฉพาะโรค และอาหารเพื่อสุขภาพ ในโรงครัว อาหารเพื่อสุขภาพในโรงอาหารของโรงพยาบาล Healthy meeting การสื่อสาร / การให้สุขศึกษาแก่ญาติและผู้ป่วย
5
๔. การจัดช่องทางรับบริการด่วนพิเศษ สำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และเด็ก (Green Channel)
ห้องน้ำ/ทางลาด/ที่จอดรถ ช่องทางด่วนพิเศษ (>๗๐ ปี) ผู้พิการ+รถเข็น คลินิกสูงอายุ ชมรมสูงอายุ DPAC แนะนำโภชนาการ ศูนย์พึ่งได้/คลินิกวัยรุ่น
6
๕. การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการในแผน ๕ ปี ให้ความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น - จัดตั้ง “ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง” - พัฒนาศักยภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่ ๒. การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ๔ สาขา ดังนี้ ทารกแรกเกิด มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ เป้าหมาย ๕ ปี ครอบคลุมประชากรชุมชนเมืองทั่วทั้งประเทศ ร้อยละ ๑๐๐ ๓. การพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการ การบริหารจัดการเครือข่ายบริการในส่วนภูมิภาค ดำเนินการในรูปแบบของเครือข่ายบริการ ๑๒ เครือข่าย โดยมีคณะกรรมการบริหารเครือข่าย บริการ
7
๖. การจัดทำแผนบุคลากรและอัตรากำลัง
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการแก้ปัญหาด้าน บริหารงานบุคคลและ การบริหารกำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข ใน 3 แนวทางดังนี้ ๑. การกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ ๒. การยกร่างระเบียบพนักงานกระทรวงสาธารณสุขเพื่อแก้ปัญหา ลูกจ้างชั่วคราวของกระทรวงสาธารณสุข ๓. การแก้ปัญหาทางด้านบริหารงานบุคคลอย่างเป็นระบบ
8
แนวทางการแก้ปัญหาระยะสั้น
๑. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอ ก.พ. ยกเว้นในการดำเนินการในกรณีต่าง ๆ ดังนี้ ๑.๑ การเลื่อนระดับตำแหน่งสูงขึ้นโดยไม่ต้องใช้ตำแหน่งว่างมายุบรวม ๑.๒ การขอไม่ลดขั้นเงินเดือนสำหรับผู้เปลี่ยนสายงานจากประเภททั่วไปเป็น ประเภทวิชาการ ๒. การขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่เพื่อบรรจุนักเรียนทุนรัฐบาล ๓ สายงาน (แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร) ๓. สำหรับการขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่เพื่อบรรจุแต่งตั้งลูกจ้างเงินบำรุง แนวทางการแก้ปัญหาระยะยาว ๑. ให้ศึกษารูปแบบกำลังคนด้านสุขภาพว่า ควรจะเป็นรูปแบบใด ๒. จัดทำกรอบความต้องการกำลังคนด้านสาธารณสุขระยะเวลา ๕ ปี
9
๗. การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายงบประมาณ (กรณีฉุกเฉิน อุทกภัย)
๗. การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่ายงบประมาณ (กรณีฉุกเฉิน อุทกภัย) ๑. การจัดซื้อจัดจ้างให้ปฏิบัติตามหนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุกรมบัญชีกลาง ๒. ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงาน ให้ ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ๓. ค่าใช้จ่ายในการบริหารของส่วนราชการ ให้ปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2553
10
๘. การพัฒนาการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน (Pay for Performance : P4P)
แนวทางการดำเนินการ ๑. การกำหนดค่าประกันผลการปฏิบัติงานขั้นต่ำ ๒. การคิดค่าคะแนนผลการปฏิบัติงาน ๓. ต้องมีการจัดกระบวนการภายใน ๔. การจัดทำหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการ ปฏิบัติงาน โดยใช้เงินบำรุงของหน่วยบริการสังกัดกระทรวง สาธารณสุข
11
๙. การลดความเหลื่อมล้ำระหว่าง ๓ กองทุน
๑. การทบทวนสิทธิประโยชน์ของแต่ละกองทุน และร่วมกำหนดชุด สิทธิประโยชน์หลักของคนไทย - สิทธิหลักด้านบริการสาธารณสุขและการรักษาพยาบาล - การร่วมจ่ายค่าบริการของประชาชน ๒. การทบทวนและร่วมกำหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริการ เจ็บป่วยฉุกเฉิน ๓. ความพยายามในการเพิ่มการเข้าถึงยาที่จำเป็นของคนไทย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.