งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ว 30131 เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี รูปร่างโมเลกุล VSEPR นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่ 28 กรกฎาคม 2552 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

2 • The Lewis Dot Structure สามารถบอกเราถึงพันธะภายใน
VSEPR Background • The Lewis Dot Structure สามารถบอกเราถึงพันธะภายใน โมเลกุล แต่ไม่ได้บอกถึงลักษณะโรงสร้างทาง geometry? ความรู้เดิมที่เราทราบคือลักษณะของอิเล็กตรอนคู่ในโครงสร้างลิวอิสสามารถแบ่งได้เป็นสองลักษณะคือ electron pairs: bonding and lone. Valence Shell Electron Pair Repulsion (VSEPR). 3D structure is determined by minimizing repulsion of electron pairs. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

3 • ในการพิจารณาแรงผลักระหว่าง bonding และ lone pairs
VSEPR Background • ในการพิจารณาแรงผลักระหว่าง bonding และ lone pairs เพื่อให้ได้รูปร่างที่มีแรงผลักกันน้อยที่สุด Example: CH4 Lewis Structure VESPR Structure พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

4 • Example: NH3 (both bonding and lone pairs).
VSEPR Background • Example: NH3 (both bonding and lone pairs). Lewis Structure VSEPR Structure พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

5 1. เขียนโครงสร้าง Lewis Dot Structure
VSEPR Background • จากภาพตัวอย่างดังกล่าว เราจึงมีวิธีในการที่จะบอกรูปร่างของโมเลกุลสารได้ดังนี้ 1. เขียนโครงสร้าง Lewis Dot Structure 2. ปรับหรือจัดตำแหน่งของ bonding/lone electron pairs เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มีแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนน้อยที่สุด space such that repulsions are minimized. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

6 การทดลองเรื่อง การจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุล
การทดลองเรื่อง การจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุล จุดประสงค์ 1. สำรวจตรวจสอบการจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลได้ 2. อธิบายเปรียบเทียบการจัดตัวของลูกโป่งกับรูปร่างโมเลกุลรูปทรงต่างๆได้ การปฏิบัติงาน 1. เป่าลูกโป่ง 6 ลูกให้มีขนาดเท่า ๆ กัน ผูกขั้วไว้ให้แน่น 2. ผูกลูกโป่งที่เป่าแล้วเข้าด้วยกัน 2 ลูก สังเกตรูปร่างและทิศทางของลูกโป่ง บันทึกผล ผูกลูกโป่งเพิ่มขึ้นเป็น 3 , 4 , 5 และ 6 ลูก โดยเพิ่มที่ละลูกตามลำดับ สังเกตรูปร่างและทิศทาง บันทึกผล พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

7 • Linear Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 180°
VSEPR Background • Linear Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 180° • Example: BeF2 180° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

8 • Trigonal Planar Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 120°
VSEPR Background • Trigonal Planar Structures: มุมระหว่างพันธะคือ 120° • Example: BF3 120° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

9 • Tetrahedral: Any (and every) HCH มุมระหว่าง พันธะคือ ~109.5°
VSEPR Background • Tetrahedral: Any (and every) HCH มุมระหว่าง พันธะคือ ~109.5° • Example: CH4 109.5° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

10 Takes up more space than a bonding pair.
VSEPR Background • Tetrahedral: ทุกพันธะจะทำมุมกัน 109.5° (exactly) ลักษณะและความแตกต่างของความหนาแน่นของ bonding and lone pair electron (implies orbitals).ส่งผลให้มุมต่างไป bonding pair lone pair Takes up more space than a bonding pair. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

11 • Pyramidal: Bond angles are <109.5°, and structure
VSEPR Background • Pyramidal: Bond angles are <109.5°, and structure is nonplanar:ที่มี Lone pair ที่อะตอมกลาง 1คู่ • Example: NH3 107° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

12 VSEPR: Tetrahedral • ตัวอย่างรูปร่างโมเลกุลที่เปลี่ยนไปของ tetrahedral : จากรูปร่าง tetrahedral (109.5°) เทียบกับโมเลกุงของน้ำ: พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

13 VSEPR Comparison of CH4, NH3, and H2O
Tetrahedral (trigonal) pyramidal bent The molecules are not tetrahedral (only CH4 is); พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

14 VSEPR shape (PCl5) • Trigonal Bipyramidal, 120° in plane, and two orbitals at 90° to plane: • Example, PCl5: 90° 120° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

15 VSEPR and Octahedral Shape
• Octahedral: all angles are 90°: • Example, SCl6: 90° พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

16 Advanced VSEPR • Square Planar versus “See Saw” See Saw Square Planar
No dipole moment พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

17 Advanced VSEPR • Driving force for last structure was to
maximize the angular separation of the lone pairs. Lone Pairs need to have more room and be further from other pairs than bonding pairs. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

18 Advanced VSEPR Applications
• VESPR and resonance structures. Must look at VESPR structures for all resonance species to predict molecular properties. พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

19 VSEPR Provide the Lewis dot and VESPR structures for CF2Cl2. Does it have a dipole moment? 32 e- Tetrahedral พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

20 VSEPR and more molecules
พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

21 VSEPR and more molecules
ในการเขียนสัญลักษณ์ของรูปร่างโมเลกุล ให้ A คือจำนวนอะตอมกลาง ให้ X คือจำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะรอบ ให้ E คือจำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง อะตอมกลาง พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

22 จำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลาง
รูปร่าง/สัญลักษณ์ 2 3 AX2E 4 AX3E AX2E2 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

23 จำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลาง
รูปร่าง สัญลักษณ์ 5 6 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

24 VSEPR and more molecules
ให้นักเรียนเขียนรูปร่างของโมเลกุลต่อไปนี้ SO2 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร

25 แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 พันธะเคมี ชุดที่4 อ.ศราวุทธ แสงอุไร


ดาวน์โหลด ppt ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google