งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ
2/2550 /40106/P1 phanvipa

2 ธงชาติของอิราเอลและอาหรับ

3 เป็นความขัดแย้ง ระหว่าง
- ชนชาติสองชนชาติ - อุดมการณ์สองอุดมการณ์ - ศาสนาสองศาสนานั้นใกล้ชิดกัน 

4 ความเป็นมา ชาวอิสราเอลหรือชาวฮิบรูเดิมอาศัยอยู่แถบที่เรียกในคัมภีร์เก่าว่า คานาอา ใน หุบเขาทางภาคเหนือ แล้วขยายดินแดนมารุกราน ชาวปาเลสไตน์ซึ่งอยู่ตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เกิดความแห้งแล้ง อพยพไปยังอียิปต์ อพยพกลับมายังดินแดนเดิมโดยโมเสส

5 เส้นทางที่โมเสสพาชาวยิว อพยพจากอียิปต์มายังcanaan

6 อาณาจักรยิวแบ่งเป็น 2 อาณาจักร
อิสราเอล มีเมืองหลวงชื่อ สมาเรีย จูดาห์ มีเมืองหลวงชื่อ เยรูซาเลม พระเจ้าโซโลมอน

7 อัสซีเรียรุกราน อิสราเอล บาบิโลเนียนรุกราน จูดาห์ กวาดต้อนยิวไปเป็นทาส
สมัยพระเจ้าไซรัสของเปอร์เซีย ให้ยิวกลับไปยังดินแดนเดิม ปกครองตนเอง

8

9 โรมมันรุกราน ทำลายกรุงเยรูซาเลม ชาวยิวจำนวนมาก อพยพไปจากปาเลสไตน์ ศตวรรษที่ 7 ศาสนาอิสลามแผ่ไปยังยุโรป มุสลิมปกครอง ปาเลสไตน์ ถึงค.ศ. 1071 ประชากรส่วนใหญ่คืออาหรับที่นับถือศาสนาอิสลาม

10 อิสราเอล 1. ความเชื่อของชาวยิวที่ว่า พระผู้เป็นเจ้าทรงสัญญาว่าจะมอบดินแดนนี้ ให้ 2. การที่ชาวยิวต้องกระจัดกระจายไปอยู่ในประเทศต่างๆ ก็ยิ่งทำให้เกิดกระตือรือร้นที่จะกลับมายังดินแดนนี้มากขึ้น ต่อมาความเชื่อนี้ได้กลายเป็นขบวนการทางการเมือง และอุดมการณ์ ซึ่งมีชื่อว่า ไซออนนิสม์

11 ไซออนนิสม์ ขบวนการการเมืองของชาวยิว วัตถุประสงค์ คือ จะผูกพันชาวยิวในโลกไว้ด้วยพันธะด้านเชื้อชาติ ให้กลายเป็นชนชาติที่ยิ่งใหญ่ โดยมีศูนย์กลางทางการเมือง และวัฒนธรรมอยู่ที่รัฐอิสราเอลตั้งโดย นายธีโอดอร์ เฮิร์ซล์ ชื่อภูเขา ในดินแดนปาเลสไตน์

12 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษต้องการให้ยิวช่วยเหลือในการทำสงครามจึงประกาศว่าเห็นชอบที่จะให้จัดตั้งประชาคมชาวยิวในดินแดนปาเลสไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหประชาชาติมีมติให้แบ่งดินแดนปาเลสไตน์เป็น 2 รัฐ คือรัฐยิวและรัฐอาหรับ

13 ปัญหาการปกครองดินแดน
การแบ่งดินแดนอย่างไม่ยุติธรรม โดยชาวอาหรับได้ดินแดนอยู่เพียงร้อยละ43 ชาวยิวได้ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์กว่า ดินแดนที่ชาวอาหรับได้รับล้วนแต่เป็นภูเขาและทะเลทรายทำการเพาะปลูกได้ยาก

14 รัฐยิวเป็นประเทศเอกราชในวันที่ 14 พ.ค. 1948 เรียกว่าประเทศอิสราเอล
นายเดวิด เบนกูเรียนเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของอิสราเอล

15 เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างชาวอาหรับกับชาวยิวกลายเป็นสงครามระหว่างยิวกับประเทศอาหรับ 4 ประเทศคือปาเลสไตน์ อียิปต์ ซีเรีย และเลบานอนขึ้น

16 สงครามยิว - อาหรับ !!26 ต.ค.1956  อิสราเอลโจมตีไซนาย กรณีกาซา  ! 15 พ.ค ประเทศ โจมตีอิสราเอล !!! 5-10 มิ.ย.1967 สงคราม 6 วัน !!!! 1973 สงครามยมคิปปูร์อียิปต์และซีเรียเข้าโจมตีอิสราเอล

17 สงคราม 6 วัน ค.ศ กลุ่มประเทศอาหรับได้โจมตีอิสราเอล แต่อิสราเอลสามารถยึดดินแดน คาบสมุทรไซนาย ฉนวนกาซา จากอียิปต์ ที่ราบสูงโกลันจากซีเรีย ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจอร์แดน  นครเยรูซาเล็มฝั่งตะวันออก ซึ่งดินแดนทั้งหมดอยู่ภายใต้การดูแลของอิสราเอลจนถึงปัจจุบัน 

18

19 ปี ค.ศ อียิปต์และอิสราเอล ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพตามข้อตกลง Camp David Accords ทำให้ชาติอาหรับไม่พอใจ ข้อตกลงนั้นเกี่ยวกับการถอนกำลังออกจากแหลมไซนาย

20 แหลมไซนาย ช่วง

21

22 นายกรัฐมนตรีเอฮุด โอลเมิร์ตของอิสราเอล ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช และประธานาธิบดีมาห์มูด อับบาสของปาเลสไตน์

23 ประธานาธิบดี มาฮ์มุด อับบาส ปาเลสไตน์ และนายกรัฐมนตรี เอฮุด โอลเมิร์ต อิสราเอล

24 เหตุผลของการรื้อถอนนิคม
ชาวยิวจากฉนวนกาซา 1. ความมั่นคงปลอดภัยของชนกลุ่มน้อยชาวยิวในฉนวนกาซา 2. ดินแดนแห่งนี้ไม่ได้มีความสำคัญ หรือมีคุณค่าทางยุทธศาสตร์การทหารต่ออิสราเอล 3. อิสราเอลให้ความสำคัญกับเวสต์แบงก์มาก โดยอิสราเอลกลับเร่งดำเนินการสร้างนิคมชาวยิวและทำถนนหนทางเพิ่มมากขึ้นในเขตเวสต์แบงค์ เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดใน ค.ศ. 2005

25 แผนที่ดินแดนชาวปาเลสไตน์

26 แผนที่ประเทศอิสราเอล ค. ศ. 2007 จาก www. lib. utexas
แผนที่ประเทศอิสราเอล ค.ศ จาก


ดาวน์โหลด ppt ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google