ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTeepth Thongthang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ปรียา มิตรานนท์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บรรยายที่กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 20 ก.ค. 49
3
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ความเป็นมาของโครงการ สอส. : สำรวจ : จัดทำทุกปี จัดทำทุก 5 ปี จัดทำทุกปี
4
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
วัตถุประสงค์ของโครงการสำรวจ สอส. : 1. เพื่อศึกษาข้อมูลภาวะการเจ็บป่วย 2. การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุข 3. วิธีการรักษาพยาบาลเวลาเจ็บป่วย 4. การเข้าถึงของสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ของประชากร
5
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การนำเสนอข้อมูล : 1. รายงานผลเบื้องต้น 2. รายงานผลฉบับสมบูรณ์ 3. CD-ROM รายงานผลฉบับสมบูรณ์ 4. การเผยแพร่สรุปผลที่สำคัญทาง Web-Site สสช. (
6
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ขอบข่ายการศึกษาครั้งนี้ : บุคคลผู้อาศัยในครัวเรือนส่วนบุคคล ทั่วประเทศ ศึกษาข้อมูลปี 2546, 2547 และ 2548 ปี 2548 : ดำเนินการสำรวจ 1-12 เม.ย. 2548 สำรวจครั้งที่ 13
7
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล : สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่าง ปี 2546 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน ปี 2547 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน ปี 2548 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน
8
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แนวทางการศึกษา สอส. ที่เกี่ยวข้องกับ การแพทย์แผนไทย : 1. ประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาล 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและ สังคม 3. วิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการ รักษาพยาบาล
9
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การเจ็บป่วย (ป่วยครั้งสุดท้าย) ระหว่าง 1 เดือนก่อน วันสำรวจ ถามเฉพาะผู้ป่วย หรือรู้สึกไม่สบาย คำถาม จาก การสำรวจ อนามัย และ สวัสดิการ การเจ็บป่วย และ การไปรับ บริการ สาธารณสุข (ถามทุกคน) ใช้ยาแผนโบราณ/ ยาสมุนไพร วิธีการรักษาพยาบาล หมอพื้นบ้าน/ หมอแผนโบราณ ซื้อยากินเอง รักษา ไม่รักษา ไปสถานีอนามัย ฯลฯ
10
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
คำนิยามจากสอส. : 1. ยาแผนโบราณ 1.1 ความหมาย ยาที่ใช้บำบัดโรค ความรู้จากตำรายาแผนโบราณ ขึ้นทะเบียนตามพรบ ผลิตแบบธรรมชาติไม่ซับซ้อน
11
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
คำนิยามจากสอส. : (ต่อ) 1. ยาแผนโบราณ (ต่อ) 1.2 รูปแบบ 2 รูปแบบ : ยาแผนโบราณสำเร็จรูป ยาสามัญประจำบ้าน ยาแผนโบราณในรูปของสมุนไพรต่างๆ ยาหม้อ ยาต้ม ยาพื้นบ้าน ฯลฯ
12
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
คำนิยามจากสอส. : (ต่อ) 2. หมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ 2.1 ความหมาย : มีความรู้ในการรักษาโรค หรือ อาการเจ็บป่วย 2.2 วิธีการรักษา : ใช้ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพรต่างๆ วิธีการนวดแผนโบราณ
13
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ประเด็นที่นำเสนอจากผลการศึกษา : 1. ประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาล ประชากรที่ป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย วิธีการรักษาพยาบาล 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ 3. วิเคราะห์สถานการณ์/แนวโน้มการรักษา พยาบาล 4. ข้อเสนอจากผลการศึกษาครั้งนี้
14
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
15
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากรที่ป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
16
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากรที่ได้รับการรักษาและไม่รักษา จากอาการป่วย/รู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 (จำนวน : พันคน) แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
17
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 3 ร้อยละของประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาลใน การป่วย/รู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
18
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 4 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร และการไปหาหมอ พื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
19
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 5 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตามโครงสร้างอายุ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
20
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 6 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามโครงสร้างอายุ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
21
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 7 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
22
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 8 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
23
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
24
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 9 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนก ตามการประกอบอาชีพ 3 ลำดับสูงสุด พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
25
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 10 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามการประกอบอาชีพ 3 ลำดับสูงสุด พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
26
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 11 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร และรักษาโดยไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตาม กลุ่มโรคที่ป่วยครั้งสุดท้าย 5 อันดับแรก พ.ศ. 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
27
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 12 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตาม 5 อันดับแรกของกลุ่มโรค พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
28
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
แผนภูมิที่ 13 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตาม 5 อันดับแรกของกลุ่มโรค พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ
29
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอต่อนโยบาย : 1. ควรกำหนดแนวทาง นโยบาย และยุทธศาสตร์ที่ ชัดเจนในการพัฒนาวิธีการรักษาด้วยการแพทย์ แผนไทย 2. ควรให้ความรู้/ความเข้าใจและเผยแพร่วิธีการ รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยให้ประชาชนมีความ เข้าใจอย่างถูกต้องและชัดเจน 3. พัฒนามาตราฐาน คุณภาพ ตลอดจน สนับสนุนการแพทย์แผนไทย
30
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอต่อการพัฒนาระบบข้อมูล : ควรมีการสำรวจโดยเฉพาะในด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ได้ความชัดเจนและรายละเอียดของข้อมูลเพิ่มขึ้น 2. พัฒนา/จัดทำตัวชี้วัดด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแพทย์ แผนไทย ซึ่งสามารถนำไปใช้วัดและประเมินในเรื่อง ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ควรมีการพัฒนาข้อมูล และศึกษาอย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบรวมทั้งจัดทำฐานข้อมูล (Data Base) เพื่อให้สะดวก ในการสืบค้น
31
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอต่อการศึกษาวิจัย : 1. ควรศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทย กับการใช้วิธีการรักษาพยาบาลที่เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย 2. ควรศึกษาเพื่อติดตามสถานการณ์/แนวโน้มอย่างต่อเนื่องรวมทั้ง ควรศึกษารายละเอียดในระดับพื้นที่ย่อย เช่น เขตเมือง/ เขตชนบท และระดับจังหวัด 3. ในการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยต้อง คำนึงถึงนิยามที่นำมาใช้ในการสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูล เพราะมี ผลต่อข้อมูลเป็นอย่างมาก 4. ระเบียบวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คำนิยาม ขอบข่าย การ เก็บข้อมูล ฯลฯ ต้องได้มาตราฐานและเป็นรูปแบบเดียวกัน
32
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.