งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร โดย ผศ.ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ ในสัมมนา สสช.เชิงรุก ตอน “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ประชากรไทยในรอบ 10 ปี” 5 เมษายน 2550 ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรมสยามซิตี้

2 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร คืออะไร? ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร? ประโยชน์ที่ได้ ทำอย่างไรจึงได้มา? ตัวอย่างผลการวิเคราะห์

3 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร: คืออะไร? ข้อมูลที่ได้จากการติดตามประชากรตัวอย่างกลุ่มหนึ่ง ต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา 1 ปี (ในอดีต เคยติดตาม 2 ปี) ติดตามการเปลี่ยนแปลงของประชากร: เด็กเกิดใหม่เท่าไร? ใครบ้างที่เสียชีวิต? มีใครย้ายเข้า – ออก? บันทึกข้อมูลพื้นฐานของประชากร และครัวเรือน เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา การทำงาน จำนวนบุตร เกิดรอด การคุมกำเนิด ลักษณะของที่อยู่อาศัย

4 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร: คืออะไร? (ต่อ) มีข้อมูลที่นอกเหนือจากข้อมูลพื้นฐาน เช่น จดทะเบียนเกิด – ตาย หรือไม่? มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านหลังที่อาศัยอยู่ หรือไม่? ตายที่ไหน? ด้วยสาเหตุอะไร?

5 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร? ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่

6 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

7 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

8 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 คนที่ 6 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด เม.ย. ตาย อยู่ ออก อยู่ เข้า ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

9 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ก.ค. คนที่ 1อยู่ คนที่ 2 (ตั้งครรภ์) อยู่ คนที่ 3อยู่ คนที่ 4อยู่ คนที่ 5 คนที่ 6 ต.ค. อยู่ ออก อยู่ ม.ค. อยู่ ออก อยู่ เกิด เม.ย. ตาย อยู่ ออก อยู่ เข้า ก.ค. ตาย อยู่ ออก อยู่ ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ลักษณะของข้อมูลเป็นอย่างไร?

10 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร : ประโยชน์ที่ได้? คำนวณมาตรวัดทางประชากร ****(ทางตรง): มาตรวัดภาวะเจริญพันธุ์ มาตรวัดภาวะการตาย มาตรวัดการย้ายถิ่น แฟ็คเตอร์ที่ใช้ปรับความสมบูรณ์ของการจด ทะเบียนเกิด-ตาย **** ประมาณมาตรวัดทางประชากร โดยใช้เทคนิควิธี ทางอ้อม ประโยชน์ในเชิงงานวิจัย ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับการตั้งข้อสมมุติใน การฉายภาพประชากร

11 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ข้อมูลจากการสำรวจการเปลี่ยนแปลง ของประชากรนำไปคำนวณมาตรวัด ทางประชากรอะไร? ได้อย่างไร?

12 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราเกิด (Crude birth rate: CBR) อัตราเจริญพันธุ์รายอายุ (Age-specific fertility rate: ASFR) อัตราเจริญพันธุ์รวม (Total fertility rate: TFR) อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไป (General fertility rate: GFR) อัตราเจริญพันธุ์ทั่วไปของสตรีที่สมรส (General marital fertility rate: GMFR) อัตราสืบทอดพันธุ์รวม (Gross reproductive rate: GRR) อัตราสืบทอดพันธุ์สุทธิ (Net reproductive rate: NRR) มาตรวัดภาวะเจริญพันธุ์ รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิด, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, รู้จำนวนเกิดจำแนกตามกลุ่มอายุสตรีวัยเจริญพันธุ์, สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ สตรีวัยเจริญพันธุ์จำแนกตามกลุ่มอายุ

13 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราตาย (Crude death rate: CDR) แสดงภาวะการตายของประชากรในภาพรวม อัตราตายรายอายุ (Age-specific death rate: ASDR) แสดงแบบแผนการตาย อัตราตายทารก (Infant mortality rate: IMR) อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี (Under-five mortality rate: U5MR) มาตรวัดภาวะการตาย รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตาย, จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตาม กลุ่มอายุ

14 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตารางชีพและฟังก์ชั่นสำคัญจากตารางชีพ สรุปการตายของประชากรกลุ่มหนึ่งออกมาอยู่ในรูปของดัชนีตัวเดียว คือ อายุคาดเฉลี่ย สร้างตามขั้นตอนต่าง ๆ เริ่มจาก อัตราตายรายอายุ อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 60 ปี มาตรวัดภาวะการตาย (ต่อ) รู้จำนวนตายรายอายุ, รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ รู้จำนวนตายรายอายุ, รู้จำนวนตายรายอายุ, จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุ

15 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University อัตราการย้ายถิ่นเข้า อัตราการย้ายถิ่นออก อัตราการย้ายถิ่นสุทธิ อัตราย้ายถิ่นรวม มาตรวัดการย้ายถิ่น รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนคนที่ย้ายเข้า / ออก รู้จำนวนประชากรทั้งหมด รู้จำนวนประชากรทั้งหมด

16 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร การตาย และรายละเอียดของการตาย

17 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามกลุ่มอายุและเพศ กลุ่มอายุชายหญิงรวม ต่ำกว่า 15 ปี3.61.92.7 15 – 59 ปี29.815.322.5 60 ปีขึ้นไป66.682.874.7 รวม100.0 จำนวน1,100 2,200 แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

18 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนกตาม สถานที่ตาย แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

19 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนกตาม สาเหตุของการตาย แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

20 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสถานที่ตายและสาเหตุการตาย สถานที่ตายโรคติด เชื้อ โรคไม่ติด เชื้อ สาเหตุ ภายนอก ไม่ทราบ สาเหตุ สถานพยาบาล61.154.536.513.6 บ้าน37.042.518.283.6 อื่น ๆ1.52.744.11.8 ไม่ทราบ0.40.31.21.0 รวม100.0 จำนวน262981170787 แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

21 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสาเหตุการตายและเพศ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

22 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การกระจายร้อยละของการตายจำแนก ตามสถานที่ตายและเพศ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

23 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

24 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม สุขภาพ และประชากร

25 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านเศรษฐกิจ สร้างดัชนีแสดงระดับความมั่งคั่งของครัวเรือน ด้วย DiHOPIT model จาก สินทรัพย์ที่มี : ลักษณะที่อยู่อาศัย : แบ่งระดับความมั่งคั่งของครัวเรือนออกเป็น 5 ระดับ (รวยที่สุด รวย ปานกลาง จน จนที่สุด) สมาชิกแต่ละคนในครัวเรือน มีระดับความมั่งคั่งเท่ากัน ดัชนีวัดความไม่เท่าเทียมกัน

26 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University รายได้เฉลี่ยต่อเดือนตามระดับความมั่งคั่ง ของครัวเรือน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

27 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านการศึกษา : ระดับการศึกษาสูงสุด แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

28 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านการศึกษา : ระดับการรู้หนังสือ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

29 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านอาชีพ : การมี งานทำ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

30 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านอาชีพ : ประเภท ของอาชีพ แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

31 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ความไม่เท่าเทียมกันด้านสถานภาพสมรส แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

32 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ภาคจนที่สุดจนปานกลางรวยรวยที่สุด กทม.1.37.622.029.445.8 กลาง14.519.023.222.617.4 เหนือ20.722.017.415.314.4 ตะวันออกเฉียงเหนือ42.024.312.912.511.5 ใต้21.627.024.520.110.8 รวม100.0 การกระจายร้อยละของประชากรจำแนกตาม ภาคและระดับความมั่งคั่งของครัวเรือน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

33 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University ภาวะอัตราเจริญพันธุ์รวมที่ไม่เท่าเทียมกัน แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549

34 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University แหล่งที่มา: คำนวณจากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร พ.ศ. 2548 – 2549 การรอดชีพของคนรวยสูงกว่าคนจน

35 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University สรุป SPC ให้ประโยชน์มากมาย ข้อมูลสำคัญ สำหรับการฉายภาพประชากร ลักษณะของข้อมูลที่ใช้ประโยชน์ได้ เอกสารเผยแพร่โดย สสช. วิเคราะห์เอง ผู้ใช้ควรทำความเข้าใจกับข้อมูล SPC


ดาวน์โหลด ppt สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google