งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
การบรรยายเรื่อง “แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management) โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI)

2 คำถามที่ถูกถามบ่อย KM (Knowledge Management) คืออะไร ?
KM กับ LO (Learning Organization) ต่างกันอย่างไร ?

3 องค์กรทั่วไปในปัจจุบัน Result-Based Management
องค์กรที่พึงประสงค์ (HPO, SFO, NO, LO) Result-Based Management Balanced Scorecard Knowledge Management

4 Model 3 มิติ ของ สคส. (ดัดแปลงจากหนังสือ Learning to Fly)
ความรู้ คน + วัฒนธรรมองค์กร ความรู้จากภายนอก เลือก คว้า งาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ ใช้ กำหนดเป้าหมายของงาน งานบรรลุเป้าหมาย จัดเก็บ ปรับปรุง คลังความรู้ (ภายใน) ค้นหา Model 3 มิติ ของ สคส. (ดัดแปลงจากหนังสือ Learning to Fly)

5 KV KS KA 3 Parts of KM: ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ”
Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs KV KS KA

6

7

8 ร.พ. ที่ 1 กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA
เริ่มต้น (ระดับ 1) พอใช้ (ระดับ2) ดี ( ระดับ3) ดีมาก (ระดับ4) ดีเยี่ยม (ระดับ5) 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของ ผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1

9 ระดับปัจจุบันของ รพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ

10 ระดับที่แตกต่างของแต่ละองค์ประกอบ

11 “ธารปัญญา” แสดงระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม

12 มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
จาก KV สู่ KS ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV)

13 ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current

14 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7
GAP ( = Target minus Current) 5 4 3 2 1 LEVEL พร้อมให้ 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11

15

16 การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์
การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ Care & Share / Give & Grow Share & Shine

17 … KM เริ่มต้นที่ใจ … เป็นเรื่องของสายใย … เป็นเรื่องของเครือข่าย
…เป็นเรื่องของความเชื่อมโยง … ที่มาจากความผูกพัน อันมั่นคง

18 มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
จาก KS สู่ KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs

19 เอามาปรับใช้ได้อย่างไร
ขุมความรู้ (Knowledge Asset) เรื่อง…….. สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้ หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร เพิ่ม สรุป บทเรียน สรุป เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม

20 ..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets) ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น
ประเด็น/หลักการ เรื่องเล่า &คำพูด “เราทดลองวิธีการใหม่ …” แหล่งข้อมูล/บุคคล โทร. ...

21

22

23 CKO “คุณอำนวย” “คุณ.......” “คุณกิจ” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ”
Knowledge Assets (KA) Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา“สะบัดหาง” Knowledge Facilitators “คุณ ” Chief Knowledge Officer “คุณกิจ” Knowledge Practitioners CKO

24 หนังสือใหม่ ....มีจำหน่ายในงาน !


ดาวน์โหลด ppt “แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google