งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8

2 อีแจว

3 ACORN WOODPECKER OAK

4 EVOLUTIONARY ECOLOGY กัลยา ศรีพุทธชาติ

5 การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต เพื่อความอยู่รอด….สามารถแพร่พันธุ์
EVOLUTIONARY ECOLOGY “ADAPTATION” การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต เพื่อความอยู่รอด….สามารถแพร่พันธุ์ ตามกฏการคัดเลือกตามธรรมชาติ (NATURAL SELECTION)

6 สิ่งมีชีวิตใดที่มีการปรับตัวได้ดี
เหมาะสมกับสภาพขณะนั้น จะถูกคัดเลือกไว้ มีชีวิตรอด และ มีลูกหลานสืบต่อไป

7 รูปแบบการปรับตัว PHYSIOLOGICAL A. การปรับด้านสรีระ การทำงานในร่างกาย
MORPHOLOGICAL A. การปรับด้านโครงสร้าง รูปร่าง PHYSIOLOGICAL A. การปรับด้านสรีระ การทำงานในร่างกาย BEHAVIORAL A. การปรับด้านพฤติกรรม

8 MORPHOLOGICAL ADAPTATION
รูปร่างของปลา…เพรียว ช่วยลดแรงต้านของน้ำ

9 จะงอยปากของนก..อาหาร กระจาบทอง กะรางหัวขวาน

10 HOOK

11 MUSCLE

12

13 บนบก Sagittaria ปรับลักษณะต้นและใบ ในน้ำ

14 MORPHOLOGICAL ADAPTATION PHYSIOLOGICAL ADAPTATION
การขับเหงื่อ….อากาศร้อน สัตว์ในที่แห้งแล้งขับถ่าย ….เข้มข้น..เพื่อรักษาน้ำ

15 เวลาของกิจกรรม ตามเวลาของเหยื่อ เปลี่ยนแปลงชนิดอาหารเพื่อลดการแก่งแย่ง
BEHAVIORAL ADAPTATION เปลี่ยนแปลงชนิดอาหารเพื่อลดการแก่งแย่ง เวลาของกิจกรรม ตามเวลาของเหยื่อ แสก

16 สาเหตุที่สำคัญของการปรับตัว
PHYSICAL ENVIRONMENT:สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ NOURISHMENT:ความอุดมสมบูรณ์ PREDATION:การล่า REPRODUCTION:การสืบพันธุ์

17 ความชื้น ตัวอย่างการปรับตัวต่อ PHYSICAL ENVIRONMENT
พื้นที่แห้งแล้ง…พืชลดใบ อวบน้ำ ระบบรากแผ่กว้าง เพิ่มโอกาสได้น้ำ

18 พืชที่เจริญในที่ที่มีความชื้นมาก…ดินไม่แน่น
สร้างพูพอน(BUTTRESS) ยืนต้นมั่นคง

19 การจำศีล การอพยพ สัตว์ในที่แห้งแล้ง ผนังลำตัวหนา แห้ง และทึบแสง
Australian burrowing frog

20 นกหัวโต การอพยพ

21 อุณหภูมิ การมีขนปกคลุมตัว หรือ มีฉนวนแบบอื่น FAT

22 Brewer 1994

23 เป็ดแดงอาบน้ำ

24 เปลี่ยนแปลงเวลาออกหากิน
อุณหภูมิ เปลี่ยนแปลงเวลาออกหากิน หากินกลางวัน..DIURNAL หากินกลางคืน..NOCTURNAL ในทะเลทราย..กลางวันร้อนมาก..ก..กก สัตว์ออกหากินกลางคืน

25 ลม พืชที่เจริญที่สูง หรือลมแรง ส่วนมากลำต้นไม่สูงมากหรือ
ปรับทิศทางการเจริญ ลม ปรับความสูงของต้นตามระดับความสูง Yarrow

26 เจริญในที่สูงหรือลมแรง

27 แสง พืชอิงอาศัย เกาะไม้ใหญ่เพื่อรับแสง ป่าดิบ

28 ใบไม้ปรับขนาดเพื่อรับแสง
ต้นกล้า ใบต่ำ ที่เรือนยอด

29 ตัวอย่างการปรับตัวเพื่อความอุดมสมบูรณ์
ระบบรากของพืช กาฝาก mistletoe

30 อาศัย กระเบน-remoras

31 การสะสมอาหารตามส่วนต่างๆ
เพื่อสะสม หรือ หลบผู้ล่า

32 ADAPT FOR NOURISHMENT Sweet potato Onion

33 MYCORRHIZAE ระหว่าง HIGHER PLANT กับ SOIL FUNGI
ดูดซึมสารอาหาร และการเจริญดีกว่า ราที่หุ้มราก..เพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม ปล่อยสารช่วยย่อยอาหาร ให้เล็กลง

34 พืชที่เจริญในพื้นที่ดินขาดธาตุอาหาร วิวัฒนาการมากินสัตว์…พืชกินแมลง
CARNIVOROUS PLANTS พืชที่กินสัตว์ พืชที่เจริญในพื้นที่ดินขาดธาตุอาหาร วิวัฒนาการมากินสัตว์…พืชกินแมลง สร้างกลไกจับเหยื่อ รูปร่างใบ ต่อมน้ำหวาน น้ำย่อย และ อื่นๆ 8-7

35 ปล่อยน้ำย่อย.. ภายในมีขนที่ไวต่อสัมผัส ใบปิดเข้าหากันอย่างเร็ว
VENUS FLYTRAP กาบหอยแครง ใบแผ่คล้ายหอยกาบ ภายในมีขนที่ไวต่อสัมผัส ใบปิดเข้าหากันอย่างเร็ว ปล่อยน้ำย่อย..

36 ขนด้านใน ป้องกันเหยื่อไต่ขึ้น
PITCHER PLANT หม้อข้าวหม้อแกงลิง ใบคล้ายเหยือก ฝาด้านบนป้องกันน้ำ ขนด้านใน ป้องกันเหยื่อไต่ขึ้น

37 ปล่อยน้ำย่อย ใบเป็นเส้น มีน้ำเหนียว การดิ้นของเหยื่อ …
SUNDEW หยาดน้ำค้าง ใบเป็นเส้น มีน้ำเหนียว การดิ้นของเหยื่อ … เส้นจะโค้งเข้ามา ปล่อยน้ำย่อย

38

39 PREDATION PREDATOR ……PREY ผู้ล่า………………….เหยื่อ PHYSICAL ENVIRONMENT
NOURISHMENT PREDATION PREDATOR ……PREY ผู้ล่า………………….เหยื่อ

40 ตัวอย่างการปรับตัวของผู้ล่า
การเคลื่อนที่…..เร็ว cheetah

41 การร่วมมือล่า…….ในชนิดเดียวกัน ..ต่างชนิดกัน
นกกระทุง สุนัขป่า

42 ร่วมมือต่างชนิดกัน เหยี่ยว กับ หมาป่า

43 นกพรานผึ้งกับชนิดอื่น
HONEY-GUIDE & RATEL

44 เทคนิคการล่า กัดเหยื่อบริเวณที่สำคัญ การพรางตัวเข้าใกล้ก่อนโจมตี
มีสารเหนียวที่ลิ้น

45

46 เหยี่ยวperegrine ล่านก
เขี้ยวพิษ

47 แมลงช้าง

48 การใช้อุปกรณ์ช่วยล่าเหยื่อ

49 นกเลขานุการ..SECRETARY BIRD

50 สัตว์กินเนื้อ มีฟัน 4 แบบ
CARNIVORE OMNIVORE HERBIVORE การปรับโครงสร้างฟัน INCISOR สัตว์กินเนื้อ มีฟัน 4 แบบ CANINE MOLAR PREMOLAR INCISOR,CANINE, PREMOLAR,MOLAR 8-10

51 KOALA COYOTE

52 เค้าแมว สายตา

53 โครงสร้าง PREDATOR ตัวอย่างการปรับตัวของเหยื่อ(PREY)
การต่อสู้ หรือ ป้องกันตัว…หลายวิธี STRUCTURAL DEFENSES โครงสร้าง พืชมีเปลือกหนา..หนาม 8-11

54 เดือย

55 ปรับพฤติกรรม BEHAVIORAL DEFENSES แสดงท่าข่มขู่…ดูน่ากลัว
THREAT POSTURE

56

57 แสดงท่าเหมือนตาย (DEATH POSTURE) …ผู้ล่าที่ไม่กินซากจะไม่สนใจ
ที่สำคัญ ???? ต้องตายให้เหมือน OPOSSUM

58 INJURY-FEIGNING DISPLAY
KILLDEER

59 การสร้างรัง กระจาบลาย

60 ร่วมมือกันต่อสู้

61 มีเสียงร้องเตือนภัย(ALARM CALL)
อยู่เป็นฝูงใหญ่ มียามเตือนภัย เสียงร้องเตือนภัยแตกต่างกันไป

62 พืช สัตว์ CHEMICAL DEFENSES การสร้างสารเคมีป้องกันตัว
STRUCTURAL DEFENSES BEHAVIORAL DEFENSES CHEMICAL DEFENSES การสร้างสารเคมีป้องกันตัว พืช สัตว์ 8-12

63 พืช สารเคมีที่พืชสร้างไว้ป้องกันตัว..เป็น SECONDARY COMPOUNDS
ระหว่างการสร้าง PRIMARY COMPOUNDS ใน PHOTOSYNTHESIS

64 สารเคมีที่พืชสร้างป้องกันตัว แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ใหญ่ๆ
8-12 สารเคมีที่พืชสร้างป้องกันตัว แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ใหญ่ๆ

65 สัตว์ สร้างขึ้นเอง รับจากที่อื่น..SECONDHAND ผึ้ง ต่อ แตน แมลงปีกแข็ง
กลุ่มสัตว์ที่มีการสร้างสารไว้ป้องกันตัวมากที่สุด ARTHROPODS ผึ้ง ต่อ แตน แมลงปีกแข็ง

66 ตัวอย่างสัตว์ที่มีสารเคมีป้องกันตัว
8-12 QUINONES ..BOMBARDIER BEETLES ปล่อย เมื่อถูกรบกวน…อุณหภูมิสูง 100 องศา ต่อมอยู่ที่ปลายส่วนท้อง 2 ช่อง mix: HYDROQUINONE,H2O2 mix: CATALASE,PEROXIDASE รวม ปล่อย...ร้อน

67 TETRODOTOXIN..สารทำลายประสาท พบในสัตว์หลายชนิด
ASIAN GOBY FISH AMERICAN NEWT COSTA RICAN FROG

68 สารทำให้หัวใจบีบตัวเร็ว…อาจถึงตาย
CARDIAC GLYCOSIDES สารทำให้หัวใจบีบตัวเร็ว…อาจถึงตาย MONARCH BUTTERFLY ได้รับสารนี้จากพืชอาหาร (MILKWEED) ใช้ป้องกันตัว

69 MONARCH BUTTERFLY กินใบ วางไข่ใต้ใบ

70 milkweed แมลงอื่นๆอีกหลายชนิด

71 ไว้ที่ผิวเพื่อป้องกันตัว
NUDIBRANCH….SEA SLUG 8-12 กินปะการัง และ เก็บ NEMATOCYST ไว้ที่ผิวเพื่อป้องกันตัว

72 COLORATIONAL DEFENSES
PREY DEFENSES STRUCTURAL D. BEHAVIORAL D. CHEMICAL D. COLORATIONAL DEFENSES

73 โปรดติดตาม..ความตื่นเต้น ในตอนต่อไป
การต่อสู้ของเหยื่อ


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google