งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

2 1. พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต : อะตอมและโมเลกุล
เนื้อหาประกอบด้วย 1. พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต : อะตอมและโมเลกุล 2. ชีวโมเลกุล

3 อะตอม (Atom)

4 โครงสร้างของอะตอม อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ โครงสร้างของอะตอมแบ่งเป็นอนุภาคย่อย ได้แก่ - โปรตอน - นิวตรอน - อิเล็กตรอน

5 ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอน เรียกว่า เลขอะตอม (atomic number) ซึ่ง
ธาตุแต่ละธาตุสามารถเขียนสัญลักษณ์นิวเครียส์ได้ดังภาพ

6 ตัวอย่างเช่น 199Fmass number = 19 (proton + neutron) = 19
atomic number = 9 (proton = 9) จำนวน neutron = mass number - atomic number = 10 การทราบค่า atomic number และ mass number ทำให้เราเข้าใจถึงการเสีย e- รับ e- หรือการใช้ e- ร่วมกันของ อะตอมซึ่งทำให้เกิดพันธะเคมีแบบต่าง ๆ

7 Electrons Cloud (Orbital)

8 แสดงโครงสร้างของอะตอมในธาตุต่างๆ

9 อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ไกลจากนิวเคลียสมากที่สุด จะมีพลังงานสูงที่สุด เรียกอิเล็กตรอนกลุ่มที่อยู่นอกสุดนี้ว่า วาเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) Valence electron

10

11 พันธะเคมี พันธะเคมี : เป็นพันธะยึดเหนี่ยวอะตอมต่างๆให้รวมกันเป็นโมเลกุล พันธะเคมี :มีหลายแบบ พันธะโควาเลนท์ (covalent bond) เป็นพันธะเคมีที่เกิดจากอะตอม 2 อะตอมใช้วาเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน พันธะไอออนนิก (ionic bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่าง cation และ anion พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)

12 Covalent bond : H2 เมื่อไฮโดรเจน 2 อะตอม นำ e- ในวงนอก ซึ่งต่างมีอยู่ 1 อิเล็กตรอน มาใช้ร่วม กัน ทำให้ต่างมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 2 พันธะหรือแรงที่ยึดเหนี่ยวอะตอม ทั้งสองเรียกว่า พันธะโควาเลนท์

13 Covalent bond : O2 ออกซิเจนแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนวงนอกอยู่ 6อิเล็กตรอน เมื่อออกซิเจน 2 อะตอม ต่างใช้ 4 อิเล็กตรอน (อิเล็กตรอน 2 คู่) ร่วมกัน จึงทำให้เกิดเป็นพันธะคู่ (double bond) ซึ่งแสดงด้วยขีดสั้น ๆ 2 เส้น หรือ เครื่องหมายเท่ากับ (O = O , O2)

14 โมเลกุลน้ำ ออกซิเจนมี อิเล็กตรอน วงนอก = 6 อิเล็กตรอน ยังขาดอีก 2 อิเล็กตรอน จึงครบ 8 ออกซิเจนจึงสร้างพันธะกับไฮโดรเจนอะตอม อีก 2 อะตอม จนเกิดเป็นโมเลกุลของน้ำ (H-O-H)

15 ออกซิเจนออกแรงดึง อิเล็กตรอน ได้มากกว่าไฮโดรเจน จึงมีประจุเป็น - และด้านไฮโดรเจนมีประจุเป็น + จัดเป็น polar covalent bonding เพราะอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน ซึ่งต่างมีจำนวนโปรตอนต่างกัน จะส่งแรงดึง อิเล็กตรอน ได้ต่างกัน ทำให้อะตอมหนึ่งมีประจุเป็น -

16 ภาพแสดงพันธะโควาเลนท์ในโมเลกุลก๊าซไนโตรเจน

17 Ionic bond : NaCl ปกติ Sodium atom และ Chloride atom ต่างไม่แสดงประจุ Na มี e- ใน outer shell 1 Na จะstable ถ้าไม่มี 1 e- คงเหลือใน outer shell และถ้า Na เสีย 1 e- ไปให้แก่ Cl ซึ่งขาด การมีประจุตรงกันข้ามกัน ทำให้ Na+และ Cl- เกิดแรงดึงดูดเข้าหากัน (electrical attraction)

18 Hydrogen bonds พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)
เป็นพันธะระหว่างอะตอมของไฮโดรเจนของโมเลกุลหนึ่ง ซึ่งมีประจุเป็น + (เพราะเป็นส่วนหนึ่งของpolar covalent bond) กับอะตอมอื่นเช่น oxygen หรือ nitrogen ของอีกโมเลกุลหนึ่งที่มีประจุเป็น – Hydrogen bonds

19 พันธะไฮโดรเจนในโมเลกุลน้ำ เป็นพันธะที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมไฮโดรเจนของน้ำโมเลกุลหนึ่ง กับอะตอมของออกซิเจนของน้ำอีกโมเลกุลหนึ่ง น้ำแต่ละโมเลกุลจะสร้างพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้มากที่สุดอีก 4 โมเลกุล

20 Hydrocarbons are Hydrophobic

21 Hydrophobic interaction
van der Waals forces within a droplet

22 Fish in an ice Minnesota lake
H2O Fish in an ice Minnesota lake

23 Algae that lend their colors to the hot springs at Yellowstone National Park


ดาวน์โหลด ppt พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google