งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์ 434 55616 29
นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์ นาย พัฒิวิชญ์ ปรมาพจน์

2 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
เพิ่มเติมรายละเอียดในด้านการตรวจสอบการกำกับเงินกองทุน และวินัยทางการตลาด ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน Mininum Capital Requirements Supervisory Review Market Discipline อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

3 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
ส่วนประกอบของเงินลงทุนยังไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วิธีคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป : ให้ความสำคัญกับ Operational Risk วิธีคำนวณสินทรัพย์เสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป : ความเสี่ยงด้านเครดิต

4 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 โครงสร้างของเนื้อหาหลัก หระกอบด้วยเนื้อหาที่กล่าวถึงการดำรงฐานะเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง และวิธีการวัดความเสี่ยง -ข้อกำหนดในการดำรงเงินกองทุนขั้นต่ำ -การตรวจสอบการกำกับเงินกองทุน -วินัยทางการตลาด อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ลิงค์ประกอบของเงินกองทุน 8% ขั้นต่ำ

5 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 การคำนวณสินทรัพย์เสี่ยง เน้นไปที่การพิจารณา Credit risk และ Market risk (ปรับปรูงเพิ่มในปี 1996) ปรับปรุงวิธีการวัด Credit riskโดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบพร้อมทั้งเพิ่มการวัด Operational risk ขึ้นโดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบเช่นกัน

6 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
ประเด็นสำคัญ Basel Capital Accord 1988 Basel II 2001 วิธีการวัด Credit risk ใช้วิธีการถ่วงน้ำหนักความเสี่ยงตามประเภทสินทรัพย์ในงบดุล และกำหนดค่าแปลงสภาพสำหรับสินทรัพย์นอกงบดุลโดยไม่พิจารณาถึงความเสี่ยงของลูกค้า หรือคู่ ธุรกรรมแต่ละรายที่ต่างกัน ปรับปรุงวิธีการวัดความเสี่ยงเครดิตให้สามารถสะท้อนความเสี่ยงเครดิตของลูกค้าแต่ละประเภท แต่ละรายที่ดีขึ้นโดยมีวิธีการวัด 3 แบบ คือ 1 Standardised Apporoach 2 Foundation Internal ratings-based (IRB) 3 Advanced IRB Appoach

7 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel Capital Accord 1988 (ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้ในปัจจุบัน) เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk ความเสี่ยงเครดิต : คำนวณจากน้ำหนักความเสี่ยงและค่าแปลงสภาพที่ BIS กำหนดไว้แยกตามประเภทสินทรัพย์

8 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel Capital Accord หลังจากปรับปรุง 1996 เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk +Market risk Barket risk : วิธีการคำนวณ มีทางเลือก 2 ด้วยกันได้แก่ -Standardised measurement method -Internal model appoach

9 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Basel Capital Accord และ Basel II
สูตรการคำนวณอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงโดยอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงจะเท่ากับ (ไม่ต่ำกว่า 8%) วิธีการประเมินความเสี่ยง Basel II ( New Capital Accord ) เงินกองทุนทั้งหมด / Credit risk +Market+Operational risk Operational มี 3 วิธีในการประเมิน ได้แก่ -Basic Indicator Appoach -Standardised Appoach -Advances Measurement Approaches (AMA)

10 การคำนวณความเสี่ยงด้านเครดิต
ตัวอย่างที่ 1 การถือสิทธิเรียกร้องเหนือรัฐบาลประเทศใดประเทศหนึ่ง เช่น พันธบัตรรัฐบาล จะมีความเสี่ยงหลังจากประเมินอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศนั้นๆ แล้วดังนี้ อันดับเครดิต AAA ถึง AA- A+ ถึง A- BBB+ ถึงBBB- ต่ำกว่า B- ไม่ได้จัดอันดับ น้ำหนักความเสี่ยง 0% 20% 50% 150% 100%

11 การคำนวณความเสี่ยงด้านเครดิต
ตัวอย่างที่ 2 กาปล่อยเงินเชื่อให้ลูกค้ารายใหญ่ หลังจากที่ลูกค้าแต่ละรายได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือแล้ว ก็จะมีน้ำหนักความเสี่ยงดังนี้ อันดับเครดิต AAA ถึง AA- A+ ถึง A- BBB+ ถึงBBB- ต่ำกว่า B- ไม่ได้จัดอันดับ น้ำหนักความเสี่ยง 0% 20% 50% 150% 100%

12 ผลกระทบต่อการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทย
มาตรฐานเงินกองทุนใหม่ สร้างเสถียรภาพในระบบการเงินไทย และเพิ่มความเป็นธรรมในการแข่งขันระหว่างธนาคารพาณิชย์ในประเทศ ฐานข้อมูลของลูกค้า ปัจจัยสำคัญที่ช่วยหนุนการเดินหน้าตาม Basel II ระยะเวลาของการเก็บสะสมข้อมูล ประเภทของลูกค้า และข้อมูลด้านหลักประกัน

13 ผลกระทบต่อการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ไทย
จำนวนบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับเครดิต ยังจำกัด คุณภาพสินเชื่อและสินทรัพย์อาจกระทบต่อความเพียงพอของเงินทุนหากธนาคารพาณิชย์มีการกันสำรองในระดับต่ำ ความเสี่ยงจากการดำเนินงาน (Operational risk) และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาด (Market risk) เพิ่มตัวหารของสัดส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง


ดาวน์โหลด ppt Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google