งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)

2 ความหมายของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกับข้อมูล เพื่อทำการคำนวณและแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล

3 ยุคของคอมพิวเตอร์

4 ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (ค.ศ. 1940 - 1953)
ใช้หลอดสูญญากาศเป็นอุปกรณ์สำคัญ สื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลสำรองคือ บัตรเจาะรู ได้แก่ เครื่อง Mark I ENIAC UNIVAC

5 MARK I UNIVAC ENIAC ENIAC

6 ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ
ยุคที่ 2 (ค.ศ ) ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ หลอดทรานซิสเตอร์

7 ยุคที่ 3 (ค.ศ – 1972) ใช้แผงวงจรรวม (Integrated Circuits หรือ IC) ซึ่งสามารถทำงานเทียบเท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัวรวมกัน ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้พลังงานน้อยลงและมีความร้อนน้อยลง แต่มีความเร็วเพิ่มมากขึ้นและมีราคาถูกลง

8 IC : Integrated Circuit

9 ยุคที่ 4 (ค.ศ.1972 – 1984) พัฒนาแผงวงจรรวมมาเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่ ทำให้เกิดไมโครโพรเซสเซอร์ หรือชิป (Chip) ตัวแรกของโลก คือ Intel 4004

10 (Very Large Scale Integration)
Microprocessor – VLSI (Very Large Scale Integration)

11 ยุคที่ 5 (ค.ศ ) มีการพัฒนารูปแบบการโต้ตอบและ แสดงผลทางหน้าจอเพื่อให้ดูง่ายขึ้น มีการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความเร็วสูง

12

13 Intranet Extranet Internet

14 ยุคที่ 6 (ค.ศ อนาคต) ทำให้คอมพิวเตอร์มีเชาว์ปัญญาคล้ายมนุษย์ สามารถตัดสินใจเลียนแบบการใช้เหตุผลของมนุษย์ เรียกว่า “ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence หรือ AI)”

15

16 ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามลักษณะของข้อมูล แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา

17 แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
อนาลอกคอมพิวเตอร์ ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ไฮบริดคอมพิวเตอร์

18 1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ ทำงานโดยใช้หลักในการวัด มีความละเอียดและสามารถคำนวณได้น้อยกว่าดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากเหมือนกับดิจิทัลคอมพิวเตอร์

19 เครื่องที่ใช้วัดปริมาณทางฟิสิกส์
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตรวจสภาพอากาศ ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เครื่องตรวจวัดสายตา ตรวจวัดคลื่นสมองและการเต้นของหัวใจ เป็นต้น

20 2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ใช้หลักในการคำนวณแบบลูกคิด หรือหลักการนับ และทำงานกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะการคำนวณจะแปลงเลขเลขฐานสิบก่อน แล้วจึงประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสอง

21 มีความสามารถในการคำนวณและมีความแม่นยำมากกว่าอนาลอกคอมพิวเตอร์ สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากจึงต้องใช้สื่อในการบันทึกข้อมูล

22 3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ อนาลอกคอมพิวเตอร์ + ดิจิทัลคอมพิวเตอร์
เช่น การส่งยานอวกาศขององค์การนาซา จะใช้เทคนิคของอนาลอกคอมพิวเตอร์ในการควบคุมการหมุนของตัวยานอวกาศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความกดดันอากาศ อุณหภูมิ ความเร็ว และใช้เทคนิคของดิจิทัลคอมพิวเตอร์ในการคำนวณระยะทางจากพื้นผิวโลก

23

24 แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์

25 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Compuer)

26 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)

27 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicompuer)

28 4. เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation Compuer)
LAN

29 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcompuer)

30 ไมโครคอมพิวเตอร์ Desktop Computer / PC Notebook Computer PDA Plam
มีรูปร่างต่างๆ กันไปน่ะครับ ไมโครคอมพิวเตอร์ Desktop Computer / PC Notebook Computer Plam PDA Pocker PC

31 องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
Hardware Software Peopleware Documentation/ Procedure Data/ Information

32 วงจรการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

33 หน่วยความจำ หน่วย ควบคุม คำนวณและ ตรรกะ

34 รูปแบบการประมวลผล ของคอมพิวเตอร์

35 การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing)

36 2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์
(Centralized Computing)

37 การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing หรือ Off-line System)
จะไม่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์ ข้อเสีย คือ ข้อมูลจะไม่ทันสมัย

38 2) การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing หรือ Transaction Processing หรือ Real-Time Processing )
เป็นวิธีที่ผู้ใช้สามารถใช้งาน พร้อมกันได้หลายคน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเมื่อรับข้อมูลเข้ามา

39 3.การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing)
Client Client Client Server Server Client

40 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความจำ (Storage) ความเร็ว (Speed) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Action) ความน่าเชื่อถือ (Sure)

41 เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก
ความจำ (Storage) เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก Storage Media

42 ความเร็ว (Speed) ความถี่ (Frequency) Hz (Hertz = Cycle/Second)
ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ความถี่ (Frequency) Hz (Hertz = Cycle/Second)

43 เช่น คอมพิวเตอร์รุ่น Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2
เช่น คอมพิวเตอร์รุ่น Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2.5 GHz หมายความว่า ประมวลผลได้ 2,500 ล้านคำสั่ง ใน 1 วินาที

44 การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Action)
เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับคำสั่ง ได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ ตามขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ได้กำหนดไว้

45 GIGO - Garbage In Garbage Out ใช้แทนความน่าเชื่อถือของคอมพิวเตอร์
ความน่าเชื่อถือ (Sure) การประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง GIGO - Garbage In Garbage Out ใช้แทนความน่าเชื่อถือของคอมพิวเตอร์

46 ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์
การวางระบบคอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลานานมาก การรวบกวนระบบงานปกติ การทำงานขึ้นอยู่กับมนุษย์

47 . . .สวัสดี. . .


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google