ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
2
สถานการณ์สุขภาพช่องปากและระบบบริการทันตกรรม
100% ร้อยละฟันผุ 80.64 3-15ปี 24.43 ร้อยละการเข้าถึงบริการทันตกรรม 89.57 35-44 ปี 38.29 96.15 60-74 ปี 32.28 20 40 60 80 ร้อยละ (ที่มา:การสำรวจของกองทันตสาธารณสุข ปี 2550)
3
การบริหารงบประมาณการจัดบริการทันตกรรม แบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย
กองทุนทันตกรรม กองทุน OP/IP กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน (เน้นเด็ก ชั้น ป. 1 โดยให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น) กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน งานรักษา ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม กลุ่มเป้าหมายหลัก
4
กรอบการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม ปี 2554
5
1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด
1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการบริหารงบ สปสช.เขตแจ้ง สสจ.และหน่วยบริการเพื่อส่งแผน/โครงการ - สสจ.ส่งแผน/โครงการระดับจังหวัด - CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่นๆ ส่งแผน/โครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ สสจ.รวบรวมเสนอคณะกรรมการทันตฯจังหวัดภายในเดือน พฤศจิกายน 53 กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรให้ สปสช.เขต ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) คณะทำงาน ทันตสาธารณสุขระดับเขตพิจารณาและอนุมัติแผน/โครงการ สปสช. โอนเงินให้สสจ.(100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) สปสช.เขตรวบรวมแผน/โครงการ เพื่อส่งเบิกสปสช. สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานของ สสจ. และรายงานผลต่อ สปสช.ทุก 6 เดือน
6
1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด
1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการดำเนินงาน (ลักษณะProject- based) ระดับจังหวัด 1. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 2. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามนโยบายระดับจังหวัดที่ 3. พัฒนาและสนับสนุนการกระจายทันตบุคลากรในระบบบริการ ปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ 4. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ให้มากขึ้น โดย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน ระบบปกติ 6. สนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อบจ. อบต. เทศบาล ระดับ CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น * เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดำเนินงานแก่ ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ และมุ่งเน้นใน กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ทั้งนี้ การดำเนินโครงการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับจังหวัด CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น (1.2) ต้องไม่ซ้ำซ้อน กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก (1.3)
7
1.งบบริการทันตกรรม 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการบริหารงบ สสจ.แจ้ง คปสอ. (CUP / หน่วยบริการและPCU และอปท.) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการการให้บริการในกลุ่มเป้าหมายหลักตามชุดสิทธิประโยชน์ (ส่งแผน สสจ. ภายในเดือน พฤศจิกายน 53) กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ สสจ. ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) สปสช. โอนเงิน ให้ CUP (100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด อนุมัติแผนและส่งเบิกผ่าน สปสช.เขต สสจ. รายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมผ่านสปสช.เขตต่อ สปสช. ทุก 6 เดือน สปสช.เขตรายงานผลการดำเนินงานต่อสปสช. ทุก 6 เดือน
8
1.งบบริการทันตกรรม(ต่อ)
1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในเด็กวัยเรียน ตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบผสมผสานอย่างสมบูรณ์ในเด็กป.1 สนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ตามชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ หน่วยบริการประจำต้องจัดทำแผนปฎิบัติการสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักอย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาที่จะดำเนินการ จำนวนเป้าหมาย ให้ครอบคลุมจำนวนสถานศึกษา/ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.