งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56
การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 GES เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56

2 ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556
ประเด็นการนำเสนอ ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556 แนวทางการพัฒนาองค์การ

3 กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา บุคลากร - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ - ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มิติภายใน

4 ตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ KPI 9 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ GES ด้านการพัฒนาองค์การ - ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 10 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล ทุนองค์การ - ความสอดคล้องเชื่อมโยงกันในองค์การ - ความสำเร็จขององค์การ - การสร้างสิ่งใหม่ KPI 11 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

5 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ
KPI 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก รัอยละ 5  KPI ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ร้อยละ 2  KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร ร้อยละ 1.5  KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร KPI 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 3  KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ  KPI 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ  KPI ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ  KPI ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ร้อยละ 4

6 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร

7 KPI 11.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญของ องค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายหลังวันที่ 1 เมษายน 56 2 - 3 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 4 5 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 และรายงานมีความครบถ้วนและทันสมัย

8 KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความ
พึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

9 KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ
ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร (ต่อ) น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

10 หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey
ความเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญ หมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey คือการทำให้ GAP น้อยที่สุด ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างปัจจัยด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากรภายในองค์การ (Gap) หากส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์กร (Gap) มีค่าสูง แสดงว่า สิ่งที่บุคลากรในองค์การมีความเห็นกับความสำคัญที่องค์การมุ่งเน้นมีความแตกต่างกันมาก ดังนั้นหน่วยงานควรดำเนินการพัฒนาองค์การโดยการหาสาเหตุของปัญหาและดำเนินการแก้ไข หากมีผู้ตอบน้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างตามหลักสถิติที่กำหนดไว้ (สามารถตรวจสอบจำนวนผู้ตอบขั้นต่ำของแต่ละส่วนราชการได้จากหน้าเว็บไซต์ระบบการสำรวจออนไลน์) จะได้คะแนนเท่ากับ คะแนน เนื่องจากไม่สามารถนำผลการสำรวจมาใช้เป็นตัวแทนในการประเมินผลได้

11 แบบรายงานผลการสำรวจการพัฒนาองค์การโดยระบบออนไลน์
Username และ Password 1 ชุด/หน่วยงาน ระบบการแสดงผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ ทางเว็บไซต์

12 KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

13 ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ

14 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

15 KPI 12.2 การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 1.5 ≤6 7 8 9 10

16 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ

17 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

18 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

19 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

20 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

21 ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ

22 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

23 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

24 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

25 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5
KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ กรณีที่ 1 : Gap ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าเฉลี่ยกลาง กรณีที่ 2 : Gap ครั้งที่ 1 มากกว่าค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5 X2 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 4 5 X2 ≤ X1 หมายเหตุ: X1 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค. 55 – 4 ม.ค. 56) X2 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 2 (16 – 30 ก.ย. 56) Xmax คือ ค่าสูงสุดของค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (Gap) ครั้งที่ 1 ของทุกส่วนราชการ ทั้งนี้ “ค่าเฉลี่ยกลาง” และ “ค่า Xmax” สกพร.จะแจ้งพร้อมผลการสำรวจครั้งที่ 1 ผ่านระบบออนไลน์

26 ค่าเฉลี่ยกลาง และ Xmax
KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 11.2 ตัวชี้วัดที่ 12.1 ตัวชี้วัดที่ 13.1 ค่าเฉลียกลาง 1.2 1.0 Xmax 2.0 1.9 Gap เฉลี่ยของทุกจังหวัด รอบที่ 1 ปี พ.ศ. 2556

27 KPI 13.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

28 ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ Survey Online
จังหวัดอุดรธานี

29 “GAP” ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
Renewal HRM นโยบายและเป้าหมาย HRM ชัดเจน งานท้าทาย ได้เรียนรู้/ประสบการณ์ นำการเรียนรู้จากบุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงาน การมอบหมายงานชัดเจน เหมาะสม การเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากร ส่วนราชการปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคล ถูกต้อง ทันสมัย นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม Execution กิจกรรมการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ แผน HRD สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์จังหวัด ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ติดตามความคืบหน้า บุคลากรในจังหวัดมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ช่วยส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงาน การให้รางวัล ยกย่องชมเชยบุคลากร HRD มุ่งมั่นตั้งใจ ยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ ได้รับการพัฒนาความรู้ฯ จากความต้องการ และผลการประเมิน มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ การพัฒนาความรู้ฯ ที่ได้รับช่วยให้ชำนาญ และปฏิบัติงานดีขึ้น ปริมาณงานสมดุลกับเวลาปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศช่วยให้ปฏิบัติงานต่อเนื่อง System สภาพแวดล้อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุข การจัดการแก้ไขปัญหา ระบบ IT เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัดถูกใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถบริหารฯ องค์การให้บรรลุเป้าหมาย ฐานข้อมูลใช้งานสะดวก เข้าถึงง่าย ค้นหาข้อมูลรวดเร็ว เข้าใจทิศทาง/กลยุทธ์ ฐานข้อมูลสนับสนุน Good/best Practices Alignment ระบบ IT เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน Database Network

30 ระดับ “Gap” ด้านการพัฒนาบุคลากร
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับ Gap จากมากไปน้อย

31 ระดับ “Gap” ด้านการพัฒนาบุคลากร
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับ Gap จากมากไปน้อย ความเห็น ความสำคัญ

32 ระดับ “Gap” ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับ Gap จากมากไปน้อย

33 ระดับ “Gap” ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับ Gap จากมากไปน้อย ความเห็น ความสำคัญ

34 ระดับ “Gap” ด้านวัฒนธรรมองค์การ
ค่าเฉลียกลาง 1.0 Xmax 1.9 ระดับ Gap จากมากไปน้อย

35 ระดับ “Gap” ด้านวัฒนธรรมองค์การ
ค่าเฉลียกลาง 1.0 Xmax 1.9 ระดับ Gap จากมากไปน้อย ความเห็น ความสำคัญ

36 แบบฟอร์มที่ 2 แผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 แผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ* ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมายเหตุ: *ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผน ได้แก่ ผลการสำรวจที่มี Gap สูง ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความท้าทายองค์การ ฯลฯ ความเห็นเพิ่มเติมของผู้บรืหาร ลงนาม ผู้บริหาร วันที่อนุมัติ ( )

37 ระยะเวลาดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556)
แบบฟอร์มที่ 2 แผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ แผนดำเนินงานตาม แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 แผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลาดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556) ผล ผลิต ผู้รับผิดชอบ งบ ประ มาณ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

38 ตัวอย่างการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
ชื่อส่วนราชการ จังหวัดอุดรธานี ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน  กลุ่ม.... ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ * ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ  HRM หน่วยงาน/จังหวัด ที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง   2.2  โครงการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อจังหวัดอุดรธานี - ค่า Gap - ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล ร้อยละการโอน/ลาออกของบุคลากรที่ลดลง   ร้อยละ 20 กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล

39 แนวทางการพัฒนาองค์การ
ประเด็นการนำเสนอ ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556 แนวทางการพัฒนาองค์การ

40 แนวทางการดำเนินการพัฒนาองค์การ
วิเคราะห์ผลการสำรวจ ค้นหาสาเหตุของปัญหา จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ดำเนินการตามแผนฯ การวิเคราะห์ระดับความเห็น การวิเคราะห์ระดับความสำคัญ การวิเคราะห์ GAP Focus Group หาสาเหตุของปัญหาและ ข้อเสนอแนะ สัมภาษณ์เชิงลึก สำรวจด้วยคำถามปลายเปิด จัดลำดับความสำคัญ กำหนดกิจกรรม/ผู้รับผิดชอบ ควรเน้นกิจกรรมที่มีผลกระทบสูง คำนึงถึงเวลาที่เหมาะสม เน้นความต่อเนื่อง เน้นการสื่อสารในองค์การ ดำเนินการตามแผนที่กำหนด ติดตามผลการดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผน หมายเหตุ ขั้นตอนทั้งหมดนี้เป็นเพียงแนวทางพัฒนาองค์การ ส่วนราชการสามารถดำเนินการ ในลักษณะใดก็ได้ตามความเหมาะสม เนื่องจากการวัดผลตามตัวชี้วัดนี้มิได้ตรวจขั้นตอน การดำเนินการ แต่เป็นการนำผลคะแนนมาจากผลการสำรวจออนไลน์ครั้งที่ 1 และ 2 เปรียบเทียบกันและคำนวณค่าจากระดับของ Gap ที่เปลี่ยนแปลงไป

41 แนวทางการพัฒนาขีดสมรรถนะขององค์กรเปรียบเทียบกับการใช้ทรัพยากรและระดับความพร้อมขององค์กร
ที่มา : โครงการการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างขีดสมรรถนะของส่วนราชการ ดำเนินการโดย สำนักงาน ก.พ.ร. ร่วมกับบริษัทเอคเซนเจอร์ โซลูชั่น จำกัด

42 แนวทางในการพัฒนาบุคลากร
ที่มา : โครงการการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อเสริมสร้างขีดสมรรถนะของส่วนราชการดำเนินการโดย สำนักงาน ก.พ.ร ร่วมกับบริษัทเอคเซนเจอร์ โซลูชั่น จำกัด

43 แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศ
การจัดทำเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ขององค์กร ที่ตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้ การบริหารความเสี่ยงเพื่อกำจัด ป้องกันหรือ ลดการเกิดความเสียหายในรูปแบบต่างๆ การสำรองข้อมูลสารสนเทศ (Back up) ให้สามารถฟื้นฟูระบบสารสนเทศ และกู้คืนข้อมูลจากความเสียหายได้ (Recovery) IT Contingency Plan มีระบบรักษาความมั่นคงและปลอดภัย ข้อมูลและสารสนเทศใช้เพื่อการวางแผนยุทธศาสตร์ ข้อมูลและสารสนเทศมีความเชื่อมโยงกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการวางแผนระดับบุคคล ข้อมูลสารสนเทศ มีความเชื่อมโยงกับ ผลการดำเนินการและการส่งมอบบริการ ข้อมูลสารสนเทศใช้สำหรับการวัดและการ วิเคราะห์ผลการดำเนินการขององค์กร และการปรับปรุงในทุกด้านที่สำคัญ รวมทั้งกระบวนงานภายในและภายนอกองค์กร การใช้ผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ดีและมีมาตรฐาน ตั้งแต่ระดับโครงสร้างพื้นฐานของฮาร์ดแวร์ระบบเครือข่าย ตลอดจนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และซอฟต์แวร์ในการสื่อสารบนระบบเครือข่าย มาตรฐานของผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์เครือข่าย เช่น IEEE802.7 มาตรฐานบรอดแบนด์บนเครือข่ายท้องถิ่น (Broadband LAN) IEEE มาตรฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) เป็นต้น

44 ตัวอย่าง ....การจัดการข้อมูลสารสนเทศ

45 แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงบรรยากาศภายในองค์การ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) Knowledge Management Model การรวมกลุ่มกัน เรียนรู้ การค้นหาข้อมูล การจัดวางข้อมูล การจัดวางหลักสูตรฝึกอบรม (Learning Module) การกำหนดผู้เชี่ยวชาญ ค้นหาข้อมูล เรียนรู้ / ร่วมมือ การเรียนรู้และการร่วมมือกัน การเรียนรู้ผ่านทางหลักสูตรฝึกอบรม (Learning Module) การเรียนรู้จากการสนทนาแลกเปลี่ยนกันระหว่างเพื่อนร่วมงานและผู้เชี่ยวชาญ เนื้อหา แลกเปลี่ยน สร้าง การแลกเปลี่ยน การส่งผ่านข้อมูลผ่านอีเล็คโทรนิคไฟล์ การเสนอแนะหลักสูตรอบรมแก่บุคลากร การค้นหาทางเลือกให้บุคลากรกับฝ่ายกองการเจ้าหน้าที่ การแบ่งปันความรู้ การกำหนด การกำหนดนโยบาย ขั้นตอน และรูปแบบที่ เป็นที่ยอมรับ การสร้างองค์ความรู้

46

47

48 ความเชื่อมโยงระหว่าง PMQA ระดับพื้นฐาน
และคำถามใน GES Survey Online ปี 56

49 ปัจจัย คำถาม LD SP CS IT HR PM HRM 1. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีนโยบายและเป้าหมายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ชัดเจน และมีการสื่อสารให้บุคลากรทราบ LD1 SP3 SP4 HR3 2. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีการมอบหมายบุคลากรอย่างชัดเจน เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของจังหวัด SP5 HR1 HR2 3. จังหวัด/หน่วยงานที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง HR1 4. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลที่มีความถูกต้อง ทันสมัย และนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจและการบริหารทรัพยากรบุคคลของจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ IT2 5. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีการส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนรู้และการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝ่ายบริหารกับบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน และระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกันเอง LD3 HR5

50 ปัจจัย คำถาม LD SP CS IT HR PM HRD 6. แผนพัฒนาบุคลากรของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีความสอดคล้องกับทิศทาง และยุทธศาสตร์ของจังหวัด SP1 - SP3 7. บุคลากรในจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสมเพียงพอที่จะทำให้การปฏิบัติงานบรรลุภารกิจขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ SP3 HR1 – HR5 PM5 8. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น HR3 9. ข้าพเจ้าได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากความต้องการ และผลการประเมินการปฏิบัติราชการ CS6 IT7 10. การพัฒนาความรู้ ทักษะที่ข้าพเจ้าได้รับช่วยให้ข้าพเจ้ามีความชำนาญ และสามารถปฏิบัติงานได้ดีขึ้น

51 ปัจจัย คำถาม LD SP CS IT HR PM System 11. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีความพร้อมใช้งาน ช่วยให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง LD4 IT1 - IT6 12. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่สามารถจัดการแก้ไขปัญหาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม (เช่น ไฟดับ ไวรัส เป็นต้น) IT6 PM4 Database 13. ข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของข้าพเจ้า IT1 IT2 IT3 IT7 14. ฐานข้อมูลของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก เข้าถึงได้ง่าย ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้รวดเร็ว IT4 15. ฐานข้อมูลของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่สามารถสนับสนุนการสื่อสารองค์ความรู้ (KM) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องของวิธีการปฏิบัติที่ดี (Best/Good Practices) IT7 Network 16. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน และนำมาใช้สนับสนุนการปฏิบัติงานได้จ้า IT4 IT6

52 ปัจจัย คำถาม LD SP CS IT HR PM Direction 17. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของจังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่ LD1 SP4 Leadership 18. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารสามารถบริหารจัดการองค์การให้บรรลุเป้าหมายได้ตามยุทธศาสตร์ LD1 LD4 LD5 LD6 LD7 SP1 SP4 SP5 SP6 SP7 19. ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชาเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานได้อย่างอิสระ เพื่อการพัฒนาองค์การให้ดีขึ้น LD3 IT7 Culture & Climate 20. สภาพแวดล้อมการทำงานในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข HR1 21. ปริมาณงานที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมาย มีความสมดุลกับเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน SP3 HR1 HR3 22. ข้าพเจ้าได้รับการสนับสนุนให้มีอุปกรณ์และเครื่องมือที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ Accountability 23. ข้าพเจ้ามีความมุ่งมั่นตั้งใจ และยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่เพื่อให้จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่บรรลุเป้าหมาย SP4 SP5 HR7 Motivation 24. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีการให้รางวัลหรือยกย่องชมเชยบุคลากรที่ทุ่มเทให้แก่องค์การอย่างเหมาะสม HR1 HR2

53 ปัจจัย คำถาม LD SP CS IT HR PM Coordination & Control 25. ข้าพเจ้าสามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานได้ตลอดเวลา รวมทั้งได้รับการสนับสนุนเพื่อให้การทำงานประสบความสำเร็จ LD3 HR1 26. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานของข้าพเจ้ามักจะติดตามความคืบหน้าของงาน เพื่อช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน LD4 HR1 HR2 Team 27. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และการทำงานที่มีคุณภาพดี LD2 LD3 HR5 External Orientation 28. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่สามารถปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อการบรรลุภารกิจ LD1 SP7 IT5 Innovation & Learning 29. จังหวัดที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีการนำการเรียนรู้จากบุคลากรภายใน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง HR1 HR5 30. ข้าพเจ้ารู้สึกว่างานของข้าพเจ้ามีความท้าทาย และช่วยให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะความสามารถใหม่ๆ และมีประสบการณ์มากขึ้น CS1 – CS7 IT7 PM1 PM2 PM3 PM5 PM6

54 Q & A , # 8916, 8915, 8804


ดาวน์โหลด ppt เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google