งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
POWER POINT เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1 © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.

2 ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีตของมนุษย์
โดยมีนักประวัติศาสตร์ เป็นผู้ทำหน้าที่ สืบสวน ค้นคว้าหาข้อเท็จจริงต่าง ๆ จากหลักฐานที่หลงเหลืออยู่ เราสามารถนำความรู้ทางประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการพิจารณาเหตุการณ์ในปัจจุบัน หรือแก้ปัญหาสภาพสังคมปัจจุบันได้

3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณี สิ่งที่มนุษย์จับต้อง ส่วนใหญ่มักจะ อยู่ในธรรมชาติ และในวัฒนธรรมของมนุษย์

4 การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
แบ่งตามลักษณะการเกิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ หลักฐานชั้นต้นหรือปฐมภูมิ หลักฐานชั้นรองหรือทุติยภูมิ แบ่งตามลักษณะการบันทึก ได้แก่ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

5 แบ่งตามลักษณะการเกิดและสภาพแวดล้อม
หลักฐานชั้นต้นหรือปฐมภูมิ หลักฐานที่บันทึกไว้โดยผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง หรือ รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตนเอง เช่น เจดีย์ รูปปั้น พระพุทธรูป โครงกระดูก ภาชนะ ดินเผา เครื่องประดับ ป้อมและกำแพงเมือง เป็นต้น

6 แบ่งตามลักษณะการเกิดและสภาพแวดล้อม
หลักฐานชั้นรองหรือทุติยภูมิ เป็นบันทึกของผู้ที่รับทราบเหตุการณ์จากคำบอกของ บุคคลอื่นมาอีกต่อหนึ่ง หรือหลักฐานที่มีผู้เขียนขึ้น ภายหลัง ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของบทความทางวิชาการ และหนังสือต่าง ๆ เช่น จดหมายเหตุ พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคำ บอกเล่า ของผู้ที่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์

7 การแบ่งประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
แบ่งตามลักษณะการเกิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ หลักฐานชั้นต้นหรือปฐมภูมิ หลักฐานชั้นรองหรือทุติยภูมิ แบ่งตามลักษณะการบันทึก ได้แก่ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

8 แบ่งตามลักษณะการบันทึก
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร คือ หลักฐานที่ปรากฏเป็นตัวหนังสือและบันทึก เรื่องราวต่าง ๆ เช่น จารึก จดหมายเหตุ ตำนาน พระราช พงศาวดาร บันทึก คำให้การหรือคำบอกเล่า วรรณคดี และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น

9 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
จารึก เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรที่ เก่าแก่ที่สุด ส่วนใหญ่จะจารึกบนแผ่นศิลา หรือ จารึกบนแผ่นอิฐ จะบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ ความเชื่อ และคำสอนไว้

10 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
จดหมายเหตุ คือ การจดบันทึก ข่าวคราว หรือเหตุการณ์เรื่องใด เรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในวันเดือนปี นั้น ๆ ว่าเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด

11 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
ตำนาน เป็นเอกสารเล่าประวัติ ของปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ หรือชื่อเมืองต่าง ๆ

12 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
พงศาวดาร เป็นบันทึกเรื่องราว เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และ เหตุการณ์บ้านเมืองด้านต่าง ๆ เช่น การปกครอง การศาสนา การศึกสงคราม เป็นต้น

13 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
บันทึก เป็นหลักฐานที่มุ่งทึกเหตุการณ์ของ บุคคลเป็นส่วนตัว ไม่เกี่ยวกับเรื่องราชการ

14 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
วรรณคดี เป็นหนังสือที่ทำให้ ผู้ศึกษารู้ถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี ชีวิตความเป็นอยู่ และความรู้สึกนึกคิดของคน ในสมัยที่เขียนขึ้นได้

15 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
หนังสือพิมพ์ คือเอกสารรายงาน เหตุการณ์ต่อสาธารณชน เป็นทั้ง ข้อเท็จจริงและความคิดเห็นต่อ เหตุการณ์ และสถานการณ์ต่าง ๆ

16 แบ่งตามลักษณะการบันทึก
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร คือ หลักฐานที่เป็นวัตถุเกี่ยวข้องกับมนุษย์ในอดีต หรือเรียกว่า หลักฐานทางโบราณคดี ได้แก่ โครงกระดูก ภาชนะดินเผา เครื่องประดับ ป้อมและกำแพงเมืองโบราณ คำให้การ เป็นต้น

17 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
โครงกระดูก

18 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ภาชนะดินเผา

19 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
เครื่องประดับสำริด

20 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ป้อมและกำแพงเมือง

21 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
คำให้การหรือคำบอกเล่า คือ เรื่องราวของผู้ได้ยินได้ฟัง เรื่องราวจากผู้อื่นมาอีกต่อหนึ่ง รวมถึงผลงานการศึกษา ค้นคว้าของนักวิชาการด้วย

22 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่นจังหวัดปทุมธานี

23 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หนังสือภูมิสังคมปทุมธานี

24 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เอกสารค้นคว้าเตาสามโคก

25 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร วารสาร “เสียงรามัญ”

26 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เอกสารแนะนำการท่องเที่ยว

27 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เจดีย์หอย

28 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ตุ่มสามโคก

29 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

30 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เจดีย์มอญ

31 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โกศพญากราย วัดสิงห์

32 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ศาลหลักเมืองจังหวัดปทุมธานี

33 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ศาลากลางจังหวัดปทุมธานีหลังเก่า

34 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โบราณสถานเตาโอ่งอ่างเมืองสามโคก

35 ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หลุมหลบภัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม

36 จัดทำโดย นายสุนทร พุกสุข
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ดาวน์โหลด ppt โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google