งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ
การบริหารกองทุนกรณีผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ

2 ประเด็นนำเสนอ 1. การบริหารงบในปีงบประมาณ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย 3. บทบาทของ สปสช.ส่วนกลาง และสปสช.เขต ในการบริหารงบ (เช่น มีการกระจายอำนาจให้เขต ในเรื่องใดบ้าง) 4. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล

3 1.การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
1.กรณีผู้ป่วยในระดับเขต (IP Normal) ประกอบด้วย รักษาภายในเขต รักษาข้ามเขต กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน 1. หน่วยบริการสปสธ.จ่ายล่วงหน้า 4 งวด 2. หน่วยบริการรัฐนอก จ่ายล่วงหน้า 1 งวด ออกรายงานการจ่ายเงินตามรอบออก REP สัปดาห์ละ 3 วัน(base rate เบื้องต้น) 3. ปิด Global budget ภายใน 30 ก.ย. 57 โดยใช้ข้อมูลจริงไม่น้อยกว่า 10 เดือน 4. จ่ายตามระบบDRGs with GB ของแต่ละเขต

4 การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
2.กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน(AE) ประกอบด้วย สิทธิว่าง เด็กแรกเกิด ค่าพาหนะ ผู้ป่วยนอกอุบัติเหตุ/ฉุกเฉินข้ามจังหวัด ประกันสังคมส่งเงินสมทบไม่ครบ3 เดือน/7เดือน 1. จ่ายตามการให้บริการจริง ออกรายงานตามรอบออกREP สัปดาห์ละ 3 วัน 2. อัตราจ่าย ผู้ป่วยนอก จ่ายตามPoint system with GB ผู้ป่วยใน จ่ายตามระบบ DRGs with GB ( ไม่หักเงินเดือน)

5 การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
3.ค่าใช้จ่ายสูง (Hight Cost) ประกอบด้วย Instrument Chemo-OP Methadone maintenance therapy NoNi for ambulatory Crypto/CMV Dialysis-IP/OP Hyperbaric จ่ายตามการให้บริการ ตามการส่งข้อมูล ตามรอบออก REP สัปดาห์ละ 3 วัน อัตราจ่าย ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน จ่ายตามPoint system ceiling with GB

6 การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
4. บริการทันตกรรมจัดฟัน และฝึกพูดสำหรับผู้มีภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ (Cleft Lip & Cleft Palate) ปรับเพิ่มวงเงินงบจาก 18.4 ล้านบาท --> 24.3 ล้านบาท ปรับเพิ่มรายการ NAM และ Distractor การผ่าตัดแก้ไขภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ (จ่ายตามระบบ DRGs) แต่ยกเลิกใบส่งตัว

7 การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
5.ค่าใช้จ่ายสูงกรณี OP Refer จำนวน 19 บาท / ประชากรผู้มีสิทธิ (48,852,000 คน) เป็นเงินจำนวน 928,188,000 บาท เป็นการจ่ายแบบร่วมจ่ายกับหน่วยบริการประจำ โดยหน่วยบริการประจำจ่ายส่วนที่ไม่เกินเพดานต่อครั้งบริการ ที่ สปสช. กำหนด และให้ สปสช. ทำหน้าที่ในการหักชำระบัญชีระหว่างกัน ( clearing house ) แทนหน่วยบริการประจำ

8 ความแตกต่างระหว่างปีงบประมาณ 2556-2557
ความแตกต่างระหว่างปีงบประมาณ ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 1 งบประมาณ : งบเหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการกรณีเฉพาะ 15 บาท (725 ลบ.) 19 บาท (928 ลบ.) 2 การบริหาร งปม. กองทุนกลางระดับประเทศ เช่นเดียวกับ ปี 56

9 ความแตกต่างระหว่างปีงบประมาณ 2556-2557
ความแตกต่างระหว่างปีงบประมาณ ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 3 การจ่ายชดเชย 1) ค่าใช้จ่าย ≤1,600 บาท ใช้เงินเหมาจ่ายรายหัวกรณีผู้ป่วยนอกทั่วไป ( OP Cap) โดย สปสช. หักจาก CUP/จังหวัด  2) ส่วนเกินจาก 1) ใช้เงิน OP Refer ที่เป็นกองทุนกลางระดับประเทศ

10 การบริหารกองทุนในปีงบประมาณ 2557
ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 4 รายการที่กำหนดราคากลาง จำนวน 171 รายการ เช่นเดียวกับ ปี 56 5 การตัดยอดข้อมูล รายเดือน 6 การชำระบัญชี สปสช.หักชำระบัญชีระหว่างกันแทน CUP/จังหวัด

11 2. หลักเกณฑ์การจ่ายที่เปลี่ยนแปลงจากปี 56
กรณีผู้ป่วยใน ประเด็นความแตกต่าง ปีงบประมาณ 2556 2557 งบประมาณ บาท 1, บาท คิดเป็นร้อยละ 5.34 การกันเงินคุณภาพจากกองทุนผู้ป่วยในระดับเขต ไม่เกิน 15 บาทต่อประชากร ไม่เกิน 20 บาทต่อประชากร วิธีคำนวณ Global budget ไม่รวมกรณีการนำนิ่วออกจากทางเดินปัสสาวะ รวมกรณีการนำนิ่วออกจากทางเดินปัสสาวะ เงื่อนไขการจ่ายกรณีการนำนิ่วออกจากทางเดินปัสสาวะ เหมาจ่ายจากกองทุนนิ่วทุกกรณี การผ่าตัด และส่องกล้องจ่ายระบบDRGs สลายนิ่ว เหมาจ่ายในอัตราที่กำหนด ใช้เงินผู้ป่วยในระดับเขต

12 กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง
กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน และค่าใช้จ่ายสูง กรณี ปีงบประมาณ 2556 2557 หลักเกณฑ์การจ่าย AE/HC เหมือนเดิม เหมือนปี 56

13 3. บทบาทของ สปสช.ส่วนกลาง และสปสช.เขต ในการบริหารงบ
3. บทบาทของ สปสช.ส่วนกลาง และสปสช.เขต ในการบริหารงบ 1.กรณีผู้ป่วยใน เกี่ยวกับการบริการงบประมาณดังนี้ 1.1 การจ่ายล่วงหน้า สามารถกำหนดอัตราจ่ายล่วงหน้าของแต่ละเขต แต่ต้องไม่มีการกันเงินไว้เกิน 20 บาท(ค่าคุณภาพ) 1.2 เงินเดือน ติดตามประสานงานกับสสจ. ในการปรับเกลี่ย 1.3 ปรับเปลี่ยนกลไกการจ่ายเงินในกลุ่มโรคที่ป้องกันได้ หรือไม่ควร admittedของแต่ละเขตได้ 1.4 การปิดGlobal Budget

14 4. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล
กรณีมีการใช้บริการนอกเขตพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม (ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ต่อครั้งน้อยกว่า 2) และข้อมูลบริการผู้ป่วยที่ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ต่อครั้งน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ทั้งการใช้บริการในเขตและการใช้บริการนอกเขต 3. การติดตามข้อมูลอื่นๆ เช่น CMI UR การส่งต่อข้ามเขต การ Re-admission เป็นต้น

15 4. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล
ปัญหาการเข้ารับบริการของคนพิการ พบว่า หน่วยบริการแนะนำให้ผู้ป่วยไปรับบริการโดยตรง กรณีเข้ารับบริการAEข้ามจังหวัด และเลี่ยงการเขียนหนังสือส่งตัว ซึ่งโรคที่คนพิการเข้ารักษาจะเป็นโรคที่ต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง มีค่าใช้จ่ายต่อครั้งมีจำนวนค่อนข้างสูง 5. การขึ้นทะเบียนสิทธิกรณีสิทธิว่าง

16 การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการโรงพยาบาล (กองทุน IP)

17 ข้อเท็จจริง ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 ลงวันที่ 26 กรกฏาคม 2556 หมวดที่ 2 ส่วนที่ 2 บริการผู้ป่วยในทั่วไป ข้อ15 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการผู้ป่วยในทั่วไปจากGlobal Budget ระดับเขต ข้อ 15.1 ให้กันเงินไว้เพื่อจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการได้จำนวนไม่เกิน 20 บาทต่อผู้มีสิทธิ โดยให้ อปสข.พิจารณาแนวทางการจ่ายตามข้อเสนอของสปสช.เขต และที่เหลือให้จ่ายด้วยระบบ DRGs Version 5.0 เพิ่มเติม...ประกาศ .....กำหนดแนวคิดการบริหารงบประมาณระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เกี่ยวข้อง คือ ข้อ3 เพื่อให้มีแรงจูงใจด้านการเงินที่เหมาะสมแก่ผู้ให้บริการในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและให้บริการที่มีคุณภาพ ทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็นและมีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกัน

18 วัตถุประสงค์ สร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการมีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน และจัดบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สร้างกลไกการจัดการทางการเงินตามผลงานที่มีคุณภาพ (Quality performance) เพื่อส่งเสริมการยกระดับคุณภาพ และการควบคุมกำกับคุณภาพบริการ ของหน่วยบริการและเครือข่าย

19 บริหารจัดการระดับเขต
กรอบการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2557 บริหารจัดการระดับเขต งบเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปี 56 ปี 57 แบ่งวงเงินรายเขต ตามจำนวนผู้มีสิทธิ เงินส่งเสริมคุณภาพ ผลงานบริการ 4.76 วงเงินผ่านความเห็นชอบ ของ อปสข บริการผู้ป่วยในจาก Global budget ระดับเขต 10 ≤20

20 รายละเอียดการจัดสรรงบเกณฑ์คุณภาพหน่วยบริการรับ-ส่งต่อ ประจำปี 2556
จังหวัด นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี นครนายก รวม HA 1,167,731 887,612 750,840 272,321 788,347 908,217 176,607 262,193 5,213,867 DRUG 1,294,320 270,459 97,900 884,399 59,856 2,606,934 MRA 901,961 932,877 878,134 445,126 794,689 729,332 274,974 256,774 Stemiได้SK หรือ PCI 1,149,265 488,120 561,061 191,456 217,031 Strokeได้รับยา 694,736 983,570 753,698 174,929 เคมี 242,936 619,084 179,774 70,523 474,397 905,090 53,961 61,169 ทารกตายภายใน 28 วัน 681,914 289,625 252,310 197,957 443,873 413,029 113,600 214,625 จิตเวช 564,987 319,952 278,729 218,685 490,350 561,316 125,495 47,420 บุหรี่ 548,862 466,229 406,161 159,332 357,266 408,971 121,913 138,199 อัตราตายStemi 2,226,721 472,871 823,894 161,602 362,355 123,650 4,171,094 Strokeได้รับกายภาพ 1,160,967 394,473 859,123 337,025 453,420 519,041 154,724 292,322 Palliative Care 2,995,854 1,175,240 ทารกน้ำหนักน้อย 456,409 387,696 675,491 132,494 297,087 340,083 202,755 114,920 PCT 939,824 643,542 619,154 224,296 680,857 650,091 212,327 201,003 รวมจัดสรร(บาท) 12,030,633 6,885,652 8,989,923 3,492,502 7,341,798 5,435,170 1,751,461 2,040,441 47,967,580

21 แนวทางการบริหารงบเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปี 2557
ปี 56 ปี 57 ตัวชี้วัดกลาง ตัวชีวัดเขต คุณภาพโรงพยาบาล(HA) คณะทำงานพัฒนาเกณฑ์คุณภาพระดับเขต ฯ พิจารณาชุดเกณฑ์ตัวเลือกหรือระดับพื้นที่เพิ่มเติม เสนอ อปสข. อนุมัติ คุณภาพการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ URI Acute Diarrhea MRA -- เครือข่ายบริการระดับจังหวัด(stemi, Stroke CA, Newborn) - เครือข่ายบริการระดับจังหวัด(Stemi, Stroke,CA, Newborn) เกณฑ์ตัวเลือก 7 ตัว -เกณฑ์ตัวเลือก - เกณฑ์ระดับพื้นที่

22 กรอบการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
ของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2557 งบเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปี 56 ปี 57 1. ตัวชี้วัด 14 10 2. แบ่งวงเงินรายเขตตามจำนวนผู้มีสิทธิ เงินส่งเสริมคุณภาพ ผลงานบริการ 4.76 3. วงเงินผ่านความเห็นชอบ ของ อปสข. บริการผู้ป่วยในจาก Global budget ระดับเขต 20 รวมงบ 2+3 14.76

23 เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการหน่วยบริการ ประจำปี 2557
ลำดับ เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการหน่วยบริการ ประจำปี 2557 นำหนัก วิธีวัด 1 คุณภาพโรงพยาบาล 10 หน่วย 2 คุณภาพของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 โรคเป้าหมาย 3 อัตราความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 4 ตราผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ฯที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด 12 จังหวัด 5 อัตราผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันได้รับการฉีดยา 6 อัตราผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดโดยหน่วยบริการในจังหวัด 7 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนัก 1,500 -2,499 กรัม ที่เสียชีวิตภายใน 28 วัน 8 อัตราผู้ป่วยโรคจิตเภทและโรคจิตเรื้อรังที่ได้รับบริการผู้ป่วยนอกฯอย่างต่อเนื่อง 9 อัตราผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ได้รับบริการกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพก่อนและหลังจำหน่ายในโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ 7 รวม 100

24 การบริหารจัดการโรคเฉพาะ และบริการเฉพาะ
ชื่องบ ชื่อบริการ/การดูแลรายโรค บริหารจัดการโรคเฉพาะ 1. Asthma & COPD 2 การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative ) บริการค่าใช้จ่ายสูง 3. STEMI 4. Stroke

25 โรคหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2557
โรคหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2557

26 วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนการจัดบริการผู้ป่วยนอกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ได้รับการดูแลรักษาตาม มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย ครอบคลุมการคัดกรอง การรักษา และฟื้นฟูสภาพ 2. กระตุ้นให้เกิดระบบ กลไกให้บริการตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยการเข้าถึงการดูแลโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

27 กรอบการบริหารจัดการ สำหรับหน่วยบริการที่จัดบริการดูแลผู้ป่วยนอกโรคหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่ลงทะเบียนในหน่วยบริการ และหน่วยบริการที่มีผลลัพธ์การให้บริการตามเงื่อนไขที่กำหนด แนวทางสนับสนุน/หลักเกณฑ์การจัดสรร 1) ชดเชยตามคุณภาพผลงานบริการผู้ป่วยนอก 1.1สำหรับบริการที่เกิดขึ้นระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึง เดือน มิถุนายน 2557 โดยกำหนดตัดยอดข้อมูล ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2557 1.2 ใช้ข้อมูลบริการ ตาม Dataset ที่กำหนด เพื่อชดเชยตามเงื่อนไขที่กำหนด 2) ชดเชยตามคุณภาพผลลัพธ์การให้บริการตามตัวชี้วัด และเงื่อนไขที่กำหนด

28 ชื่อบริการ ปี 2556 ปี 2557 1. Asthma การชดเชย ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ จำนวน 1,000 บาท/ราย - ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการ จำนวน ไม่เกิน 2,000 บาท/ราย การชดเชยแบ่งเป็น 2 ส่วน 1.ชดเชยการรักษาด้วยยาสูด 1.1 ชดเชยที่ 1 สำหรับบริการการตรวจ ประเมิน และให้การรักษาด้วยยาสูดตามเงื่อนไขที่กำหนด 1 คะแนน/ผู้ป่วย1 รายที่มีข้อมูลครบ ใช้ข้อมูลจากAsCOP data 1.2 ชดเชยที่2 สำหรับบริการให้ยาสูดสเตียรอยด์ 0.5 คะแนน/ผู้ป่วย1 ราย ใช้ข้อมูลจาก OP individual 2. จ่ายตามผลลัพธ์บริการ สำหรับหน่วยที่มีอัตราการรับเข้านอนโรงพยาบาลตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2556 ถึงเดือนมีนาคม 2557 ของผู้ป่วยที่ได้รับการชดเชยด้วยยาสูดในปี ตามเกณฑ์ที่กำหนด จะได้รับการชดเชย 1 คะแนน/ผู้ป่วย 1 ราย

29 ชื่อบริการ ปี 2556 ปี 2557 1. Asthma (ต่อ) การส่งข้อมูล - ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช.( AsCOP) ใช้ข้อมูลจาก OP individual (ข้อมูลชดเชยการรักษา 1 กค 56- มิย. 57 ปิดรับข้อมูล 31 กค 57 )

30 ชื่อบริการ ปี 2556 ปี 2557 2 COPD การชดเชย - ชดเชยการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกจำนวน 100 บาทต่อครั้งที่ให้บริการ - ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว จำนวน 1,000 บาทต่อราย ชดเชยการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด จำนวน 1,000 บาทต่อราย การชดเชยแบ่งเป็น 2 ส่วน 1.ชดเชยการรักษาด้วยยาสูด 1.1 ชดเชยที่ 1 สำหรับบริการการตรวจ ประเมิน และให้การรักษาด้วยยาสูดตามเงื่อนไขที่กำหนด 1 คะแนน/ผู้ป่วย1 รายที่มีข้อมูลครบ ใช้ข้อมูลจากAsCOP data 1.2 ชดเชยที่2 สำหรับบริการให้ยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว 0.5 คะแนน/ผู้ป่วย1 ราย ใช้ข้อมูลจาก OP individual 1.3 ชดเชยที่ 3 ผลลัพธ์การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดดีขึ้นตามเงื่อนไขที่กำหนด 1 คะแนน/ผู้ป่วย1ราย ที่มีข้อมูลครบ ใช้ข้อมูลจากAsCOP data 2. จ่ายตามผลลัพธ์บริการ หน่วยบริการที่มีอัตราการรับเข้านอนโรงพยาบาลตั้งแต่เดือน ต.ค ถึงมี.ค.2557 ของผู้ป่วยที่ได้รับการชดเชยด้วยยาสูดในปี ตามเกณฑ์ที่กำหนด จะได้รับการชดเชย 1 คะแนน/ผู้ป่วย 1 ราย

31 - ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช
ชื่อบริการ ปี 2556 ปี 2557 2. COPD (ต่อ) การส่งข้อมูล - ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช.( AsCOP) ใช้ข้อมูลจาก OP individual (ข้อมูลชดเชยการรักษา 1 กค 56- มิย 57 ปิดรับข้อมูล 31กค57)

32 ข้อเสนอแนะ ศึกษา ทำความเข้าใจ เกณฑ์ / คู่มือ การชดเชยและการส่งข้อมูล
ศึกษา ทำความเข้าใจ เกณฑ์ / คู่มือ การชดเชยและการส่งข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องก่อนส่ง ติดตามผลการส่งข้อมูล

33 การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)

34 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้าย และครอบครัวได้รับการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวม ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณในชุมชนและที่บ้านอย่างเหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้รับบริการ ดูแลแบบประคับประคองที่บ้านตามความเหมาะสมและได้รับความสะดวกในการดูแลผู้ป่วยด้วยอุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อบรรเทาอาการจากความทุกข์ทรมาน

35 การบริหารงบประมาณปี 2557 1.สำหรับหน่วยบริการที่จัดให้มีบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่บ้านโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 2. บริการประคับประคองที่ให้สำหรับผู้ป่วยที่ลงทะเบียนในหน่วยบริการครอบคลุมผู้ป่วยทุกกลุ่มโรคที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยมีรหัส ICD = Z51.5 เป็นรหัสโรคร่วม

36 ร้อยละ 20 ของวงเงินทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 15 ม.ค. 56
ชดเชยบริการปี 2556 ลำดับ โรงพยาบาล เรียกเก็บ จำนวน(ราย) จ่ายชดเชย จำนวน(ราย) จ่ายชดเชย คะแนน จ่ายชดเชย (บาท) 1 พระนครศรีอยุธยา,รพศ. 44 32 122.00 3,023.16 2 สระบุรี,รพศ. 6 5 280.00 6,938.40 3 ปทุมธานี,รพท. 29 27 588.00 14,570.64 4 อ่างทอง,รพท. 176.00 4,361.28 สิงห์บุรี,รพท. 25 846.00 20,963.88 พระพุทธบาท,รพท. 150.00 3,717.00 7 ท่าหลวง,รพช. 8.00 198.24 8 รพ.มะเร็ง ลพบุรี 264 128 5,866.00 145,359.48 9 รพ.มะเร็ง ธัญบุรี 51 48 1,008.00 24,978.24 ฐานข้อมูล E-claim จำนวนผลงานคิดจากจำนวนวันที่ผู้ป่วยได้รับยามอร์ฟีน ชุดทำความสะอาดแผล และออกซิเจนสำหรับใช้ที่บ้าน คูณกับน้ำหนักของบริการ งวด 1 จัดสรรให้ตามผลงานบริการตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง ธ.ค. 55 ภายใต้วงเงิน ร้อยละ 20 ของวงเงินทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 15 ม.ค. 56

37 3. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative )
ชื่อบริการ ปี 2556 ปี 2557 3. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative ) 1. การบริการตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง เดือนมิ.ย. 56 โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 1 ส.ค. 56 จ่าย 2 งวด) 2. การให้ยามอร์ฟีน บริการทำความสะอาดแผล และบริการการให้ออกซิเจนเพื่อบรรเทาอาการที่บ้าน 3.จ่ายแบบglobal budget with point system การชดเชย ผลงานบริการตั้งแต่เดือน ก.ค. 56 ถึง เดือนมิ.ย. 57 การให้ยามอร์ฟีน บริการทำความสะอาดแผล และบริการการให้ออกซิเจนเพื่อบรรเทาอาการที่บ้าน ชดเชยให้ไม่เกินครั้งละ 30 วัน ต่อการตรวจติดตาม (visit) ในแต่ละครั้ง เฉพาะผู้ป่วยที่ลงทะเบียนในหน่วยบริการ global budget with point system การส่งข้อมูล - E-claim เหมือนเดิม

38 บทบาทหน้าที่หน่วยบริการ
1) จัดให้มีระบบบริการแบบประคับประคอง เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยระยะ สุดท้ายที่บ้านอย่างต่อเนื่องโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 2) ให้บริการติดตามผู้ป่วย บันทึก จัดเก็บข้อมูลการให้บริการในระบบ EClaimตามเงื่อนไขที่สปสช.กำหนด 3) ติดตาม ตรวจสอบ อุทธรณ์ แก้ไขข้อมูลผลงานการให้บริการตามเงื่อนไข ระยะเวลาที่กำหนดในคู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557

39 การติดตาม กำกับ 1) อัตราการได้รับบริการดูแลแบบประคับประคองที่บ้านด้วยยามอร์ฟีน ชุดทำความสะอาดแผล ออกซิเจนในระดับหน่วยบริการ จังหวัด เขต ประเทศ 2) ความครอบคลุมของหน่วยบริการประจำที่จัดบริการดูแลแบบประคับประคองที่บ้านด้วยยามอร์ฟีน ชุดทำความสะอาดแผล ออกซิเจนในระดับหน่วยบริการ จังหวัด

40 งบสนับสนุนบริการ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดมีการยกขึ้นของคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วน ST(STEMI ) และ โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Stroke)

41 กรอบการบริหารงบดูแลผู้ป่วย รายบริการ/โรค
งบสนับสนุนให้หน่วยบริการ/ เครือข่ายบริการ ที่ให้การ รักษาผู้ป่วย STEMI, Stroke ในระบบ UC ด้วยยาละลายลิ่มเลือด (ตามแนวทางที่สปสช.กำหนด) หน่วยบริการเป้าหมายได้แก่ หน่วยบริการที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายบริการ STEMI, Stroke ทั้งภาครัฐ และเอกชน

42 วัตถุประสงค์งบสนับสนุน STEMI, Stroke
เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการ ลดภาวะแทรกซ้อน และอัตราการเสียชีวิต เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย มีกลไกการจัดการด้านการเงินที่มีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ที่ต้องการ เพื่อให้ผู้ป่วย STEMI, Stroke เข้าถึงยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น ลดอัตราตายของผู้ป่วย STEMI, Stroke

43 แนวทางการจ่ายชดเชย STEMI
จ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เพิ่มจาก DRGs ปกติ ดังนี้ ค่ายาละลายลิ่มเลือด Streptokinase และค่าฉีดยา รายละ 10,000 บาท ค่ายาละลายลิ่มเลือด rt-PA และค่าฉีดยา รายละ 49,000 บาท ปี 56 ปี 57 ประเภทผู้ป่วย UC: IP/OP เหมือน ปี 56 การวินิจฉัย Acute Myocardial Infarction, Subsequent myocardial infarction การรักษา (แนวทางเวชปฎิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ปี 2551) Thrombolytic Agent ภายใน 12 ชั่วโมงนับตั้งแต่เกิดอาการ และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Acute STEMI SK * (เลือกเป็นอันดับแรก ตามข้อบ่งชี้ในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้าม) rt-PA (Alteplase) (กรณีผู้ป่วยเคยได้รับยา SK ภายใน 1 ปี) การส่งข้อมูล E-claim และ DMIS

44 แนวทางการจ่ายชดเชย Stroke
จ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เพิ่มจาก DRGs ปกติ เป็นค่ายาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ค่า CT Brain และ/ หรือค่าทำกายภาพบำบัด รายละ 49,000 บาท เรื่อง ปี 56 ปี 57 ประเภทผู้ป่วย UC: IP/OP การวินิจฉัย - CT Brain (ก่อนและหลังการรักษา) เหมือน ปี 56 - Cerebral Infarction การรักษา (แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบและอุดตันด้วยการฉีดยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ 2549) ให้ยาละลายลิ่มเลือด rt-PA (Alteplase) (Thrombolytic Agent- 9910) ภายใน 3 -4 ชั่วโมงครึ่ง นับตั้งแต่เกิดอาการ ตามข้อบ่งชี้ และไม่มีข้อห้าม การส่งข้อมูล E-claim

45 การบริหารงบประมาณกองทุน Central Reimbursement ปี 2557
Cataract (ต้อกระจก) Laser for Diabetic retinopathy (เลเซอร์สำหรับโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา) Corneal Transplantation (การปลูกถ่ายกระจกตา) Cleft lip & Cleft palate (ปากแหว่งเพดานโหว่)

46 Cataract (ต้อกระจก) (หน้า 117)
วัตถุประสงค์ ลดระยะเวลารอคอย บริการสะดวก รวดเร็ว ได้รับบริการที่มีคุณภาพ/มาตรฐาน หน่วยบริการ ได้รับชดเชยรวดเร็ว เป็นธรรมและเกิดการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการในพื้นที่ ลดอัตราผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding cataract) เพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าตัดในพื้นที่ขาดแคลนบริการ (Remote area)

47 เป้าหมาย ปี 57 เป้าหมายผ่าตัด 100,000 ราย เป็นรายเขต และรายจังหวัด ตามผลการดำเนินงานเฉลี่ยและอัตราการเข้าถึงบริการเฉลี่ยเทียบกับจำนวน ประชากรจัดสรรเป้าหมายให้ สปสช.เขต บริหารจัดการร่วมกับจังหวัดในพื้นที่ เป้าหมาย 20,000 ราย ในพื้นที่ที่มีผู้ป่วยโรคต้อกระจกสะสมจากการขาดแคลนบริการในรอบเวลาที่ผ่านมา

48 เป้าหมายผ่าตัด 100,000 ราย (รายเขต) ทั่วประเทศ
เป้าหมายผ่าตัด 100,000 ราย (รายเขต) ทั่วประเทศ สปสช.เขต ค่าเฉลี่ยผลงาน ปี 51-56 จำนวนปชก. อายุ > 60 ปี ณ มีนาคม 56 อัตราการ เข้าถึงเฉลี่ย ต่อแสนประชากร เป้าหมาย รายจังหวัด/เขต(100,000 ราย) 01 เชียงใหม่ 9,293 715,854 1,298 9,759 02 พิษณุโลก 8,796 435,024 2,022 5,932 03 นครสวรรค์ 11,018 415,938 2,649 5,670 04 สระบุรี 14,069 529,380 2,658 7,217 05 ราชบุรี 11,984 604,013 1,984 8,236 06 ระยอง 7,875 584,771 1,347 7,974 07 ขอนแก่น 4,960 582,312 852 7,939 08 อุดรธานี 6,906 581,310 1,188 7,926 09 นครราชสีมา 8,813 813,267 1,084 11,088 10 อุบลราชธานี 4,580 514,463 890 7,015 11 สุราษฎร์ธานี 4,237 451,040 939 6,150 12 สงขลา 3,901 487,311 800 6,644 13 กรุงเทพ 7,846 619,987 1,266 8,450 รวม 104,278 7,334,670 18,977 100,000

49 จังหวัด (HMAIN) ผลงาน (จำนวนราย) จำนวนประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป ณ มีนาคม 2556 อัตราการเข้าถึงเฉลี่ย ต่อแสนประชากร คิดอัตราการเข้าถึงบริการเท่ากันทั้งหมด จัดสรรงบประมาณ จากวงเงินงบประมาณ สรุปเป้าหมายเขต ปี 57 ค่าเฉลี่ยผลงาน ปี 51-56 1,422 รายต่อแสนประชากร รวม 100,000 ราย 1,338,965, บาท นครนายก 746 30,687 2,430 436 418 4,664,064.70 อยุธยา 2,464 91,325 2,698 1,299 1,245 13,891,771.66 ลพบุรี 2,374 85,222 2,786 1,212 1,162 12,965,653.55 สิงห์บุรี 612 30,897 1,980 439 421 4,697,538.85 อ่างทอง 631 38,434 1,641 547 524 5,846,817.95 นนทบุรี 3,762 103,707 3,628 1,475 1,414 15,777,482.03 ปทุมธานี 1,791 77,100 2,322 1,096 1,051 11,727,110.05 สระบุรี 1,690 72,008 2,347 1,024 982 10,957,204.63  ผลรวม 14,069 529,380 2,658 7,528 7,217 80,527,643.42

50 Laser project for diabetic retinopathy (เลเซอร์สำหรับโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา) (หน้า 124)
วัตถุประสงค์ ผู้ป่วย DR ที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยวิธีเลเซอร์ ได้รับบริการครอบคลุมยิ่งขึ้น ผู้ป่วย DRได้รับการรักษาด้วยเลเซอร์และการรักษาอื่น ตามมาตรฐานแนวทางเวชปฏิบัติ หน่วยบริการได้รับการชดเชยค่าเลเซอร์ เพื่อลดภาระค่าบริการ จากอัตราเหมาจ่ายในระบบปกติ พัฒนาเครือข่ายระบบบริการด้านจักษุ ให้สามารถจัดระบบ การคัดกรอง DR ส่งต่อ ให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษา อย่างครบวงจร

51 แนวทางพัฒนาระบบบริการ DR ปี 57
สนับสนุนการคัดกรองภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา โดยการจัดสรรงบควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรค DM/HT ในส่วนค่าบริการ 2 nd prevention จำนวนไม่เกิน 10 % โดยเน้นการพัฒนากลไกการคัดกรอง DRในระดับจังหวัด ภายใต้ NCD BORD จังหวัด สนับสนุนการพัฒนาบุคคลากรด้านการคัดกรอง DR และการประเมินคุณภาพและการเข้าถึงบริการ โดยร่วมมือกับราชวิทยาลัย จักษุแพทย์แห่งประเทศไทย / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. สนับสนุนงบสำหรับชดเชยค่าบริการ LASER สำหรับหน่วยบริการที่ให้บริการ LASER ในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอตา

52 แนวทางการดำเนินงานของหน่วยบริการ
หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการให้บริการรักษาด้วยวิธีเลเซอร์ ที่ประสงค์เข้าร่วมให้บริการรักษาผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่จอตาจากโรคเบาหวาน ให้แจ้งความจำนง การให้บริการเลเซอร์ตา มาที่ สปสช.เขต/ส่วนกลาง หน่วยบริการที่แสดงความจำนงให้บริการต้องบันทึกข้อมูลในระบบ E-claim เพื่อเบิกจ่ายชดเชยค่าบริการตามผลงานจริง (รายละเอียดตามคู่มือกองทุนเล่ม 1 หน้า 117, 137)

53 จังหวัด หน่วยบริการมี Laser หน่วยบริการ ไม่มี Laser นครนายก ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ นนทบุรี ชลประทาน, พระนั่งเกล้า ปทุมธานี ธรรมศาสตร์ ฯ อยุธยา พระนครศรีอยุธยา, เสนา ศุภมิตรเสนา ลพบุรี บ้านหมี่, อานันทมหิดล สระบุรี สระบุรี, พระพุทธบาท สิงห์บุรี อินทร์บุรี อ่างทอง รวม 11 แห่ง 6 แห่ง

54 สนับสนุนค่าใช้จ่าย ภายใต้โครงการความร่วมมือกับศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย
Corneal Transplantation (การปลูกถ่ายกระจกตา) (หน้า 137) สนับสนุนค่าใช้จ่าย ภายใต้โครงการความร่วมมือกับศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย งบจากกองทุน Central Reimbursement บริหารงบ โดย สปสช. เป้าหมาย ดวงตา อัตราจ่าย ค่าจัดหา จัดเก็บและรักษามาตรฐานคุณภาพดวงตาๆละ 20,000 บาท ค่าผ่าตัดและค่ารักษา ตามเกณฑ์ DRG

55 ปี 2556 ปี 2557 เป้าหมาย senile cataract ตั้งเป้ารวมประเทศ 100,000 ราย
ปี 2556 ปี 2557 เป้าหมาย senile cataract ตั้งเป้ารวมประเทศ 100,000 ราย เป้ากระจายรายเขต 7,174 ราย 1. เป้าหมาย senile cataract ตั้งเป้ารวม ประเทศ 120,000 ราย โดยจัดสรรให้ สปสช.เขต 100,000 ราย เน้นกลุ่มผู้ป่วยที่มี ภาวะตาบอดจากต้อกระจก Blinding Cataract เป้าหมาย 20,000 ราย ในพื้นที่ขาดแคลน ( remote area )บริหาร โดย ส่วนกลางจัดสรรลงจังหวัดที่มีปัญหาการ เข้าถึงบริการ เป้ากระจายรายเขต 7,217 ราย

56 ปี 2556 ปี 2557 2. หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ
ปี 2556 ปี 2557 2. หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ ค่าผ่าตัด (แยกจ่ายค่าภาระงาน 1,200 บาท ตามความสมัครใจ) - Non-complication (ไม่มีภาวะแทรกซ้อน) ข้างละ 7,000 บาท - Complication (มีภาวะแทรกซ้อน) ข้างละ 9,000 บาท หน่วยบริการที่ให้บริการผ่าตัดเป็นผู้บันทึกข้อมูลใน E-claim 2. หลักเกณฑ์การจ่าย เหมือนเดิม ยกเลิกค่าตอบแทนภาระงาน 1,200 บาทโดยเหมาจ่ายรวมกับค่าผ่าตัด

57 ปี 2556 ปี 2557 3. ค่าเลนส์ -Foldable Lens (เลนส์นิ่ม)ข้างละ 2,800 บาท
ปี 2556 ปี 2557 3. ค่าเลนส์ -Foldable Lens (เลนส์นิ่ม)ข้างละ 2,800 บาท - Non- Foldable Lens (เลนส์แข็ง) ข้างละ 700 บาท บันทึก serial number ของเลนส์ ผ่านระบบ E-claim ( ตามประกาศบัญชีเลนส์ที่ สปสช.กำหนด ) 4. ไม่มีงบชดเชยค่าบริการเลเซอร์เบาหวานขึ้นจอประสาทตา 3. ค่าเลนส์ เหมือนเดิม 4. สนับสนุนงบสำหรับ ชดเชยค่าบริการ Laser สำหรับหน่วยบริการที่ให้บริการLaser ในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอตา เป้าหมาย ผู้ป่วยรับบริการ Laser 15,000 ราย ครั้งละ 2,000 บาท สำหรับผู้ป่วย 1 ราย Laserไม่เกิน 2 ครั้ง/ปีหรือไม่เกิน 4,000 บาท / คน / ปี โดยไม่จำกัดจำนวนดวงตา

58 การดูแลรักษาผู้มีภาวะปากแหว่ง เป้าหมายการดำเนินงานปี 2557
เพดานโหว่ ปี 2557(หน้า 66) เป้าหมายการดำเนินงานปี 2557 ทันตกรรมจัดฟัน 320 ราย 15,360,000 บาท 2. การดูแลรักษาฟื้นฟูทางการแก้ไขการพูด 720 ราย 2,772,000 บาท 3. รายการอุปกรณ์สำหรับการผ่าตัดและทันตกรรมจัดฟัน - 5,950,000 บาท งบประมาณรวม 24,082,000 บาท

59 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยเด็กที่มีสิทธิ UC และสิทธิว่างที่มีภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ (ระยะเวลาการรักษาแรกเกิด – 20 ปี) วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ให้ได้รับการผ่าตัดแก้ไขความพิการตลอด จนการฟื้นฟูสภาพด้านทันตกรรมจัดฟัน การแก้ไขการพูดและการได้ยิน ช่วยให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ 2. เพื่อ พัฒนาระบบการจัดบริการ แก่ผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ และเป็นไปตามมาตรฐานการบริการ ตั้งแต่ การค้นหาผู้ป่วย การดูแลรักษาในหน่วยบริการและการฟื้นฟูดูแลต่อเนื่อง

60 รายการ ปี 2556 ปี 2557 ผ่าตัดแก้ไขภาวะ ปากแหว่ง เพดานโหว่ จ่ายตาม DRG ตามหลักเกณฑ์ สปสช.กำหนด คีย์เบิกโปรแกรม E-Claim เหมือนเดิม 2. การใส่อุปกรณ์เพดานเทียมและอุปกรณ์ในการบริการทันตกรรมจัดฟัน - 500 บาท / ชิ้น - ค่าพาหนะสภากาชาดสนับสนุน 1,000บาท/ครั้ง คีย์เบิก ยยส.1 และยสส.2 โปรแกรม E-Claim - 800 บาท / ชิ้น ปรับเพิ่ม รายการเพดานเทียมและ อุปกรณ์ส่วนเพิ่มตามประกาศสปสช. - ค่าพาหนะเหมือนเดิม 3. ทันตกรรมจัดฟัน - เหมาจ่าย 48,000 บาท / ราย ตลอดการรักษา จ่ายตามผลงานการให้บริการเป็นรายเดือน - ค่าพาหนะสภากาชาดสนับสนุน 500 บาท / ครั้ง คีย์เบิกโปรแกรม DMIS ยสส.4 4. แก้ไขการพูดและการได้ยิน - เหมาจ่าย 3,850 บาท / ราย / ปี ค่าพาหนะ 500 บาท / ครั้ง ไม่เกิน 2 ครั้ง / เดือน สภากาชาดสนับสนุน คีย์เบิกโปรแกรม DMIS ยสส.5

61 หน่วยบริการ ผ่าตัดเฉพาะทาง แก้ไขการพูด ทางทันตกรรม รพ.สระบุรี / รพ.พระนั่งเกล้า - รพ.ปทุมธานี รพ.พระนารายณ์มหาราช รพ.บ้านหมี่ รพ.นครนายก รพ.ธรรมศาสตร์ ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ รพ.ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ

62 สิทธิประโยชน์ด้านยา ปี 2557
สิทธิประโยชน์ด้านยา ปี 2557 แผนงานสนับสนุนการพัฒนา ระบบยา เวชภัณฑ์และวัคซีน

63 ความแตกต่างของสิทธิประโยชน์ด้านยา ปี 2556 และ ปี 2557
ความแตกต่างของสิทธิประโยชน์ด้านยา ปี และ ปี 2557 ยาบัญชี จ2 Clopidogrel ยากำพร้า วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข

64 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี56 และ ปี 57
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี56 และ ปี 57 สิทธิประโยชน์ด้านยา บัญชี จ2 ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 รายการยา รายการ รายการยาเดิม รายการ เพิ่ม ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยสำหรับการรักษาภาวะตับอักเสบซีจากเชื้อไวรัส genotype 2 และ 3 วิธีการเบิก เบิกผ่านโปรแกรมการเบิกชดเชยยา จ2

65 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี56 และ ปี 57
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี56 และ ปี 57 สิทธิประโยชน์ด้านยา บัญชี จ2 4. มีการตรวจสอบการสั่งใช้ยา ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 - มีการประเมินและติดตามการสั่งใช้ยา IVIG ในผู้ป่วย kawasaki การประเมินและติดตามการสั่งใช้ยา IVIG ในผู้ป่วย kawasaki ทุกราย ประเมินการสั่งใช้ยา IVIG (Idiopathic Thrombocypenic Purpura, Guillain-Barre syndrome, Myasthenia Gravis,Crisis), liposomal amphotericin B

66 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57 สิทธิประโยชน์ด้านยา Clopidogrel ปรับรอบการส่งขอมูลเพื่อเบิกยา ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 - ตัดรอบการส่งข้อมูลเพื่อส่งเบิกยาทุกเที่ยงคืน เพื่อที่จะได้ ดำเนินการจัดส่งยาให้หน่วยบริการได้เร็วขึ้น -

67 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57 สิทธิประโยชน์ด้านยา กำพร้า กลุ่มยาต้านพิษ 1.เพิ่มรายการยาในระบบและปรับโปรแกรมการบริหารจัดการ ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 ครอบคลุมยา 17 รายการ ตัดยา Glucagon ออกจากรายการยาในโครงการ เนื่องจากมีการใช้น้อย ยาราคาแพง และมีการรักษาด้วยวิธีอื่นทดแทน ทั้งนี้ยังคงให้เบิกได้จนยาเดิมหมด มียา Esmolol ให้เบิกได้แล้ว

68 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 55 และ ปี 56
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 55 และ ปี 56 สิทธิประโยชน์วัคซีน EPI 2.เปลี่ยนแปลงชนิดวัคซีน JE จากชนิด mouse brain เป็น Live attenuated ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 ใช้วัคซีน JE ชนิด Live attenuated ในเขตพื้นที่ภาคเหนือบน (พื้นที่ สคร. 10) โดยเบิกจ่ายตามแนวทางกรมควบคุมโรค พื้นที่ที่เหลือใช้วัคซีนชนิด mouse brain เบิกจ่ายจากระบบ VMI สปสช. สนับสนุนวัคซีน JE ชนิด Live attenuated ในเขตพื้นที่ภาคเหนือบน (พื้นที่ สคร. 10) โดยใช้ตามแนวทางกรมควบคุมโรค

69 ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 56 และ ปี 57 สิทธิประโยชน์วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า 4. แนวทางการบริหารสำรวจปริมาณความต้องการของหน่วยบริการ ปี งบประมาณ 2556 ปี งบประมาณ 2557 ปริมาณการสนับสนุนเป็นปริมาณที่ได้จากการยืนยันของ สสจ. โดยขอให้ สปสช. เขตเป็นผู้ประสานงานยืนยันยอดความต้องการของหน่วยบริการกับ สสจ. ปีงบประมาณ 2557 ยกเลิกการกันงบประมาณ OP เพื่อจัดซื้อรวมตามมติที่ประชุมหารือแนวทางการบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ 2557

70 การบริหารกองทุนปีงบประมาณ 2557
ค่าใช้จ่ายสูงกรณี OP Refer จำนวน 19 บาท / ประชากรผู้มีสิทธิ (48,852,000 คน) เป็นเงินจำนวน 928,188,000 บาท เป็นการจ่ายแบบร่วมจ่ายกับหน่วยบริการประจำ โดยหน่วยบริการประจำจ่ายส่วนที่ไม่เกินเพดานต่อครั้งบริการ ที่ สปสช. กำหนด และให้ สปสช. ทำหน้าที่ในการหักชำระบัญชีระหว่างกัน ( clearing house ) แทนหน่วยบริการประจำ

71 ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ 2556-2557
ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 1 งบประมาณ : งบเหมาจ่ายรายหัว ประเภทบริการกรณีเฉพาะ 15 บาท (725 ลบ.) 19 บาท (928 ลบ.) 2 การบริหาร งปม. กองทุนกลางระดับประเทศ เช่นเดียวกับ ปี 56

72 ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ 2556-2557
ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 3 การจ่ายชดเชย 1) ค่าใช้จ่าย ≤1,600 บาท ใช้เงินเหมาจ่ายรายหัวกรณีผู้ป่วยนอกทั่วไป ( OP Cap) โดย สปสช. หักจาก CUP/จังหวัด  2) ส่วนเกินจาก 1) ใช้เงิน OP Refer ที่เป็นกองทุนกลางระดับประเทศ

73 ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ 2556-2557
ความแตกต่างระหว่าง ปีงบประมาณ ลำดับ รายละเอียด ปี 2556 ปี 2557 4 รายการที่กำหนดราคากลาง จำนวน 171 รายการ เช่นเดียวกับ ปี 56 5 การตัดยอดข้อมูล รายเดือน 6 การชำระบัญชี สปสช.หักชำระบัญชีระหว่างกันแทน CUP/จังหวัด

74 การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ งบบริการควบคุม ป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง (บริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง) แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังและโรคเฉพาะ สำนักสนับสนุนระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ 74

75 มติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 13 กรกฎาคม 2552
มติคณะกก.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรกฎาคม 2552 1. สนับสนุนและชดเชยการบริการ (On-top) - ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) - รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (Prompt Rx) - เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย Improve Quality of Rx) 2. สนับสนุนการบริหารและพัฒนาระบบบริการ DM & HT 3. งบประมาณสามารถเกลี่ยระหว่างรายการ 1 และ 2 ได้ตามความจำเป็นของระบบบริการ

76 วัตถุประสงค์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ควบคุม ป้องกัน รักษา ภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (Secondary Prevention) ยกระดับมาตรฐานคุณภาพบริการเพื่อป้องกันและชะลอภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (Quality Improvement of Care)

77 แผนยุทธศาสตร์ฯโรค DM/HT ระยะที่ 2 (2556-2560)
Goal KSF Major activities KPI 1. ลดหรือชะลอการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง (Pre-DM & Pre-HT) 2. ลดหรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ด้วยบริการที่ครอบ คลุมและมีคุณภาพ 3. ลดอัตราป่วยตายจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อน กลุ่มเสี่ยงและ ผู้ป่วยมีความรู้และ ทักษะดูแลตนเองเพื่อ ชะลอการเกิดโรคและ เกิดภาวะแทรกซ้อน 2. หน่วยบริการ สามารถจัดบริการดูแล ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(CCM) อย่างเต็มรูปแบบ 3. การพัฒนากำลังคน ตอบสนองต่อความ ต้องการพัฒนาระบบ บริการโรคเรื้อรังและ ปัญหาตามบริบทของ พื้นที่ สนับสนุนการพัฒนา ระบบการจัดการตนเองของ ผู้ป่วย (Self Management Support) โดยกลไกชมรม ผู้ป่วยในกองทุนฯท้องถิ่น 2. พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศและสร้างความ เข้มแข็งให้แก่ NCD board ให้เป็นศูนย์กลางการ บริหารจัดการโรคเรื้อรัง อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สนับสนุนการพัฒนา ศักยภาพทีมสหสาขาวิชา ชีพในการจัดบริการควบคุม ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจาก โรค DM/HT ที่มีมาตรฐาน 4. สนับสนุนการผลิตและ พัฒนากำลังคนด้านบริหาร จัดการโรคเรื้อรังอย่างมี เป้าหมายและต่อเนื่อง 1.จำนวนกองทุนฯ ท้องถิ่นที่สนับสนุน กิจกรรมชมรมในการ ป้องกันโรคและ สนับสนุนการดูแล ตนเองของกลุ่มเสี่ยง 2.อัตราการความ ครอบคลุมในการ การคัดกรองภาวะ แทรกซ้อนของโรค DM/HT 3.อัตราการเข้าถึงการ ควบคุมความรุนแรงที่ ได้คุณภาพตามเกณฑ์ 4. อัตราการเกิดภาวะ แทรกซ้อนจากโรค DM/HT (หัวใจ ตาไต เท้า สมอง) และอัตรา ป่วยตายจากโรค

78 กรอบแนวทางบริหารงบควบคุมป้องกันความรุนแรง ของโรค DM/HT ปีงบประมาณ 2557
( ลบ.) ค่าบริการ 2nd prevention (748 ลบ.) ค่าสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ( ลบ.) จัดสรรเป็นวงเงินระดับจังหวัดตามจำนวน ผู้ป่วยที่มีในทะเบียน : ความครอบคลุม และคุณภาพบริการ 2nd prevention ใน สัดส่วน = 60:40 จ่ายเงินให้หน่วยบริการ ตามข้อเสนอของ คณะกรรมการ NCD จังหวัด โดย 2.1) ไม่น้อยกว่า 90% ให้หน่วยบริการ 2.2) ไม่เกิน 10% ให้เป็นการดำเนินการ ร่วมกันระดับจังหวัด เน้นการ ควบคุมป้องกันตาบอดจากภาวะ เบาหวานขึ้นจอประสาทตา เพื่อพัฒนาระบบบริการ 2nd prevention พัฒนาบุคลากร ระบบสารสนเทศและ M&E

79 แผนงานสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปี 2557
 แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2557 เป้าหมาย จำนวนเงิน 1. ส่งเสริมและสนับสนุนศักยภาพบุคลากรในการจัดการดูแลภาวะแทรกซ้อนและการจัดการระบบเครือข่ายบริการ 20,500,000 1.1 โครงการ System Manager 17จว.ๆละ4คน 3,000,000 1.2 โครงการ Case Manager 400 คน 14,000,000 1.3 โครงการ NCD Forum 1,000 คน 2,000,000 1.4 โครงการพัฒนานักระบาดวิทยา 1-2 โครงการ 500,000 2. แผนงานส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการดูแลควบคุมป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยฯ ในหน่วยบริการ 9,000,000 2.1 การพัฒนาระบบดูแลควบคุมป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการดูแลเท้าใน ผู้ป่วยเบาหวาน 1 ระบบ 2.2 Community- based Diabetes Prevention Program in Thai Population 8จังหวัด/32cups 2.3 เพิ่มช่องทางการเข้าถึงการวัดความดันโลหิตแก่ประชาชน/กลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วย 2.4 สนับสนุนการจัดการดูแลป้องกันตาบอดในผู้ป่วยเบาหวาน 77 จังหวัด 3. แผนงานติดตามและประเมินผล/พัฒนาระบบข้อมูล 14,582,600 3.1 ประเมินผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันฯในหน่วยบริการ โดย เครือข่ายวิจัยสถาบันแพทยศาสตร์ฯ (MedResNet) 994 แห่ง+กทม. 13,000,000 3.2 พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลวิจัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด(DAMUS)ระยะ 2 1,000,000 3.3 ตรวจเยี่ยมติดตามสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 5 พื้นที่ 582,600 4. สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการโรค DM/HT ในเขตสุขภาพ 13 เขต 9,157,400 รวม 53,240,000

80 ข้อแตกต่างการจัดสรรงบประมาณจากปี 2556
ปรับสัดส่วนของการจัดสรรงบประมาณ ในด้านจำนวนผู้ป่วยต่อคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยจากเดิมสัดส่วน 80 : 20 เป็น 60 : 40 2. สสจ. โดย NCD Board สามารถกันงบประมาณไม่มากกว่าร้อยละ 10 ของงบค่าบริการระดับจังหวัดเพื่อสนับสนุนการจัดบริการควบคุมป้องกันภาวะแทรก ซ้อนร่วมกันระดับจังหวัด โดยปี 57 เน้นการควบคุมป้องกันตาบอดจากภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา

81 ข้อแตกต่างการจัดสรรงบประมาณจากปี 2556 (ต่อ)
3. ตัวชี้วัดที่ใช้จัดสรรงบคุณภาพในสัดส่วน 40 % (จากเดิมปี 56 ใช้ 15 ตัวแต่ปี 57 ใช้ 9 ตัว)ดังนี้ :- ด้านคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1) อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับ HbA1c น้อยกว่า 7% 2) อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้า 3) อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีค่า BP น้อยกว่า140/90 mmHg

82 ข้อแตกต่างการจัดสรรงบประมาณจากปี 2556 (ต่อ)
ด้านความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4) อัตราการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 5) อัตราการตรวจ LDL หรือ lipid Profile อย่างน้อย 1ครั้งต่อปี(ในผู้ป่วยเบาหวาน) 6) อัตราการตรวจ Micro albumin อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 7) อัตราการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 8) อัตราการตรวจเท้าอย่างละเอียด อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 9) อัตราการตรวจ LDL หรือ lipid Profile อย่างน้อย 1ครั้งต่อปี(ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง)

83 ตัวชี้วัดการวัดผลงานโรค DM/HT ปี 2557
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวานเทียบกับอัตราความชุกของการเกิดโรค อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเทียบกับอัตราความชุกของการเกิดโรค อัตราจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน

84 NHSO 4 Saraburi กองทุนโรคไตวาย นิ่ว Hemophilia
Leukemia & Lymphoma ,BMT Heart transplantation Pediatric Liver transplantation Cornea Transplantation 84 84

85 การบริหารจัดการเฉพาะโรค
ปีงบประมาณ 2557 วัตถุประสงค์ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ได้รับบริการที่มีคุณภาพ/มาตรฐาน ได้รับบริการสะดวก รวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย หน่วยบริการ ได้รับชดเชยรวดเร็ว เป็นธรรม และเกิดการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการในพื้นที่

86 นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
เงื่อนไขการชดเชย เป็นค่าใช้จ่ายรวมค่าตรวจ ค่าบริการรักษาภาวะแทรกซ้อนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ กรณีเข้ารับบริการหลายวิธี จ่ายรายการที่สูงสุดรายการเดียว หน่วยบริการทั้งรัฐ เอกชนที่ให้บริการสลายนิ่ว (ESWL) ต้องให้บริการโดยมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์และมีเงื่อนไขที่ชัดเจน และต้องส่งประวัติพร้อมหลักฐานที่แสดงว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องรักษาด้วยวิธี ESWL ให้สปสช.หรือ สปสช.เขต หรือคณะแพทย์ที่สปสช.มอบหมายพิจารณาอนุมัติก่อนดำเนินการ และส่งผลการรักษาให้พิจารณาเมื่อให้บริการเสร็จทุกครั้ง ก่อนขอเบิกค่าบริการสลายนิ่ว

87 อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการ ตามหลักเกณฑ์ ปี 2557
วิธีการรักษา ราคา (บาท) /ครั้ง จ่าย รพ. Class 1 Open / PCNL ผ่าตัดแบบเปิด 25,000   Class 2 ส่องกล้อง 16,000 Class 3 ESWL สลายนิ่วด้วยเครื่อง A ,500 ต่อครั้ง B ,000 ต่อความสำเร็จ หมายเหตุ การเหมาจ่ายตามราคากลางที่กำหนด โดยไม่หักเงินเดือน

88 โรคเลือดออกง่าย (Hemophilia)
หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนให้การรักษา รพศ.สระบุรี รพศ.พระนครศรีอยุธยา รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

89 การจ่ายชดเชยค่าบริการ
หลักเกณฑ์ การจ่ายชดเชยค่าบริการ กรณีเลือดออกในระยะเริ่มต้น(Early Bleeding) จ่ายเพิ่มจากอัตราเหมาจ่ายรายหัว ค่า Factors เข้มข้นจ่ายให้หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรคที่ได้ขึ้นทะเบียนกับ สปสช. ในอัตรา 2. กรณีเพื่อรักษาอาการเลือดออกรุนแรงที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือผ่าตัดฉุกเฉิน (Life Threatening Bleeding and Emergency Surgery) จ่ายเพิ่มจากระบบ DRG ตามมูลค่าแฟคเตอร์เข้มข้นที่ใช้จริงแต่ไม่เกิน120,000 บาท/ครั้งของการนอนโรงพยาบาล (ไม่จำกัดจำนวนครั้ง)

90 Leukemia & Lymphoma หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนให้การรักษา รพศ.สระบุรี
รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

91 แนวทางการจ่ายชดเชยบริการ
รายการ ปีงบประมาณ 2557 Leukemia & Lymphoma [รายใหม่] การชดเชย จ่าย DRGs + On top ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่มีราคาแพง เช่น ค่ายา ค่ารังสีรักษา ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ** Acute Leukemia จ่ายตาม protocol การส่งข้อมูล Key ข้อมูลผ่าน E-Claim BMT ( Bone marrow transplantation ) เหมาจ่าย 800,000 บาท ตามเกณฑ์ที่กำหนด โควต้า 30 ราย

92 HEART TRANSPLANTATION
เป้าหมายการบริการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ 30 ราย

93 ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด
การบริหารจัดการ ผู้มีสิทธิ UC เป็นผู้ป่วยหัวใจวายอย่างรุนแรงและไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่น ได้รับการประเมินจากแพทย์ว่า มีความเหมาะสมที่จะได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ การชดเชย ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด ค่ายากดภูมิคุ้มกัน

94 รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ
การชดเชย รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ ราคาเหมาจ่าย 2. ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด Protocol -Myocardium biopsy ค่าทำ Echocardiogram , ค่าอุปกรณ์ ค่าตรวจชิ้นเนื้อ ,ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ , ค่าบริการทางการแพทย์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง 30,000 3. ค่ายากดภูมิคุ้มกัน หลังผ่าตัด ๑- ๖ เดือน หลังผ่าตัด ๗ - ๑๒ เดือน หลังผ่าตัด ๑๓ - ๒๔ เดือน หลังผ่าตัด ๒๕ เดือนขึ้นไป 25,000 20,000 15,000

95 PEDIATRIC LIVER TRANSPLANTATION
การปลูกถ่ายตับในเด็กกรณีท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิด การบริหารจัดการ ผู้มีสิทธิ UC เป็นผู้ป่วยเด็กตับวายจากท่อน้ำดีอุดตันตั้งแต่กำเนิดหรือตับวายจากสาเหตุอื่นๆ ได้รับการประเมินจากแพทย์ว่า มีความเหมาะสมที่จะได้รับการผ่าตัด การชดเชย ค่าใช้จ่ายในการให้บริการผ่าตัด, ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด ค่ายากดภูมิคุ้มกัน

96 รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ
การชดเชย รายการที่รวมอยู่ชุดบริการ ราคาเหมาจ่าย 2. ค่าใช้จ่ายหลังการผ่าตัด Protocol -Liver biopsy ค่าตรวจ ultrasound ค่าอุปกรณ์ ค่าตรวจชิ้นเนื้อ ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าบริการทางการแพทย์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรง 10,000 3. ค่ายากดภูมิคุ้มกัน หลังผ่าตัด ๑- ๖ เดือน หลังผ่าตัด ๗ - ๑๒ เดือน หลังผ่าตัด ๑๓ - ๒๔ เดือน หลังผ่าตัด ๒๕ เดือนขึ้นไป 30,000 25,000 20,000 15,000

97 Cornea Transplantation
อัตราจ่าย ค่าจัดหา จัดเก็บและรักษามาตรฐานคุณภาพดวงตาๆละ 20,000 บาท ค่าผ่าตัดและค่ารักษา เบิกจ่ายตามเกณฑ์ DRG

98 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google