งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
รายงาน เรื่อง ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม เสนอ อาจารย์ วรรณา ไชยศรี

2 รายชื่อสมาชิก 1.นายสุธี สมบูรณ์ เลขที่ 3
1.นายสุธี สมบูรณ์ เลขที่ 3 2.นายอัครพนธ์ อินทรพรหม เลขที่ 4 3.นายพิทักษ์พงษ์ แสงอยู่ เลขที่ 10 4.นายมารุต เมฆฉาย เลขที่ 11 5.นางสาวรสริน อิ่มพราหมณ์ เลขที่ 18

3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาลุ่มน้ำยม
แม่น้ำยมมีต้นกำเนิดจากดอยขุนยวม อ.ปง จ.พะเยาไหลผ่านจังหวัดแพร่ สุโขทัย พิษณุโลกพิจิตร บรรจบแม่น้ำน่านที่นครสวรรค์ รวม 735 กม . แม่น้ำยมไหลผ่านจังหวัดแพร่รวมความยาว 280 ก.ม. ปริมาณน้ำท่า ปริมาณน้ำท่าแม่น้ำยมทั้งหมด 3, ล้าน ลบ.ม./ปี ลุ่มน้ำสาขาหลัก 16 สาย ล้าน ลบ.ม./ปี ลุ่มน้ำสาขาย่อย 26 สาย ล้าน ลบ.ม./ปี แก่งเสือเต้น ล้าน ลบ.ม./ ปี ลุ่มน้ำงาว ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณน้ำท่าแม่น้ำยมไหลออกจาก จ.แพร่ 2, ล้าน ลบ.ม./ปี = 73 %

4

5 ภาพปัญหาอุทกภัย ของลุ่มน้ำยม ( ในเขตจังหวัดแพร่ ) การเกิดอุทกภัยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ริมฝั่งน้ำและในเขตเทศบาลเมืองแพร่ ลักษณะที่ 2 การเกิดอุทกภัยจากน้ำป่าไหลหลาก และโคลนถล่มใกล้บริเวณที่ลาดชันกับภูเขา การเฝ้าระวัง การเกิดอุทกภัย มีสถานีวัดน้ำฝน - น้ำท่า 2 แห่งในลำน้ำยม จังหวัดแพร่ คือ 1 สถานี Y.20 บ้านห้วยสัก อ . สอง 2. สถานี Y.1C บ้านน้ำโค้ง อ . เมือง

6

7 แนวทางป้องกันและบรรเทาผลกระทบการเกิดอุทกภัย
• พื้นที่ชุมชน / เขตเศรษฐกิจ - จัดเตรียมถุงทราย - จัดเตรียมเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย 24 ชม . - ตั้งศูนย์ให้ความช่วยเหลือ ( ก่อน - ระหว่าง - หลังเกิดภัย ) - ขุดลอกลำน้ำยมและลำน้ำสาขา เพื่อเร่งระบายน้ำ - แก้ปัญหาการรุกล้ำลำน้ำของราษฎร - ก่อสร้างสถานีสูบน้ำในเขตเทศบาล - ขุดคลองระบายน้ำเลี่ยงเมือง - เร่งรัดติดตั้งระบบเตือนภัย เพื่อลดความเสียหายด้วยระบบโทรมาตร • พื้นที่เกษตรกรรม - บริหารจัดการน้ำในแหล่งน้ำ ( เก็บกัก ระบาย ขุดลอก ปรับปรุง ) โดยใช้งบ CEO - จัดเตรียมแผนฟื้นฟูช่วยเหลือเกษตรกรหลังน้ำลด

8 ด้านการป้องกัน - ได้มีการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยพร้อมและจัดทำแผนฯ และทำการซ้อมแผนฯ โดยให้ ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยมีส่วนในการจัดทำทุกขั้นตอน - จัดทำแผนที่เสี่ยงภัย โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ( GIS ) - ดำเนินการจัดฝึกอบรมเครือข่ายด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จำนวน 4 รุ่น และทำการฝึกอบรม อปพร . 23 รุ่น - จัดตั้งชุดช่วยเหลือผู้ประสบภัยเร่งด่วนเมื่อได้รับการร้องขอจากอำเภอ หรือหน่วยงานอื่น ๆ และองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดแพร่ - ติดตั้งเครื่องวัดปริมาณน้ำฝน จำนวน 97 เครื่อง - ติดตั้งเครื่องไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน จำนวน 29 เครื่อง

9 ปริมาณน้ำฝน ข้อมูลปริมาณน้ำฝนในจังหวัดแพร่ระหว่างวันที่ 13 – 18 มิถุนายน 2547 สถานี Y.20 ( บ้านห้วยสัก อำเภอสอง ) สถานี Y.1C ( บ้านน้ำโค้ง อำเภอเมือง ) สถานีอุตุนิยมวิทยา อำเภอเมืองแพร่ , อำเภอสูงเม่น , และอำเภอเด่นชัย มีปริมาณฝนรายวันสูงสุด เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2547 ปริมาณฝนตกหนักจำนวน 3 สถานี ที่อำเภอเมืองแพร่วัดได้ มม . อำเภอสูงเม่นวัดได้ มม . และอำเภอเด่นชัยวัดได้ มม . สถิติน้ำท่วมเขตตัวเมืองแพร่ ปี 2548 ระดับน้ำที่ สถานี Y.20 วัดได้ เมตร ใช้เวลาเดินทาง ชั่วโมง ถึง สถานี Y.1c ระดับน้ำขึ้นสูงถึง เมตร ( ระดับตลิ่ง 8.20 เมตร )

10 แหล่งอ้างอิง


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google