งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
Australian Model การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย

2 สมการใน Australian Model
A คือ Domestic Absorption

3 ตัวแปรใน Australian Model
RER = Real Exchange Rate e = nominal exchange rate ราคาของ Tradables ในสกุลเงินตรา ตปท ราคาของ Nontradables ในสกุลเงินตราของตน

4 สมการใน Australian Model

5 สมการใน Australian Model
Internal Balance External Balance NCI = net capital inflow

6 กราฟแสดง Australian Model
RER=e PT*/PN EB overemployment RER unemployment B a a A BOP surplus RER BOP deficit IB a=A/PN

7 กราฟแสดง Australian Model
RER=e PT*/PN overemployment EB BOP surplus unemployment overemployment BOP surplus BOP deficit unemployment BOP deficit IB a=A/PN

8 RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN

9 RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN

10 RER=e PT*/PN EB RER 2 a 1 IB a=A/PN

11 RER=e PT*/PN EB 1 2 IB a=A/PN

12 RER=e PT*/PN EB EB’ 1 2 3 IB a=A/PN

13 RER=e PT*/PN EB EB’ 1 IB a=A/PN

14 นโยบายการเงินใน Australian Model
จาก (M=M2) - ใช้เงินกับ Nontraded Gds เป็นสัดส่วน ของรายจ่ายทั้งหมด

15 นโยบายการเงินใน Australian Model
- Supply เป็น function ของ RER

16 นโยบายการเงินใน Australian Model
ที่ดุลยภาพ

17 นโยบายการเงินใน Australian Model

18 นโยบายการเงินใน Australian Model
- NCI คือ Foreign Borrowing อันเป็นทางเลือก ทางด้านนโยบาย - อุปสงค์ของสินค้าขึ้นกับ Real Balance (m=Ms/PN) - ดังนั้นนโยบายการเงินจะส่งผลต่อระดับของ Domestic Dem. โดยผ่าน Real Balance

19 กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
MB = NFA + DC NFA= Foreign Exchange Reserves - Foreign Liability ของธนาคารกลาง (CB) - CB คุม MBไม่ได้ ถ้าคุม NFA ไม่ได้ - NFA ขึ้นกับปัจจัย เช่น ดุลการชำระเงินที่ส่งผล ต่อ Ms

20 กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
- รัฐบาลสามารถคุม MB ได้เต็มที่หรือไม่ ได้ ถ้ารัฐบาลคุมเศรษฐกิจให้มีดุลชำระเงินสมดุลตลอด - การสมดุลของ BOP จะเกิดขึ้นเมื่อ - ปล่อย e ให้ลอยตัวอย่างอิสระ - fix e ให้อยู่ในระดับที่ BOP สมดุลตลอด

21 กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
- ถ้าทำได้ ก็เท่ากับว่า คุม NFA ได้ ซึ่งเท่ากับว่าคุม Ms ได้ - แต่ที่สำคัญคือ รัฐบาลคุมได้แค่ e หรือ Ms (โดยผ่าน BOP)

22 กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
- ในระบบ e คงที่ - ราคาของ Traded Gds กำหนดโดย ตปท - BOP และดังนั้น NFA ถูกกำหนดในระบบ - Msจึงถูกกำหนดในระบบ รัฐบาลคุม Msไม่ได้ - ในระบบที่ e ลอยตัว - รัฐบาลคุม M-stock ได้ - ราคาของ Traded Gds ผันผวนตาม e Bop ได้ดุลตลอด

23 กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
- สมมุติว่า DCg เพิ่ม ทำให้ Ms เพิ่ม - ถ้าMd ไม่เพิ่มในสัดส่วนเดียวกัน ตัวแปรที่จะนำพา Ms ที่เพิ่มขึ้นให้กลับมาเท่ากับMd ก็คือ BOP โดยที่ เงินจะไหลออก ผ่านการขาดดุล BOP จนกระทั่ง ms=md กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต

24 นโยบายการเงินใน Swan Diagram
- Automatic Adjustment Mechanism ใน Swan Diagram

25 นโยบายการเงินใน Swan Diagram
- สมการที่เชื่อมระหว่าง BOP กับ Ms ด้านขวามือจะเท่ากับสภาวะของ BOP - ถ้า Stock ของ NFA จะเปลี่ยน โดยผ่านการสะสม หรือการยุบลงของสำรองเงิน ตราต่างประเทศ

26 นโยบายการเงินใน Swan Diagram
RER=e PT*/PN BOP surplus EB BOP deficit 1 RER0 IB m=M/PN m0 m1

27 นโยบายการเงินใน Swan Diagram
ผลของนโยบายการเงินแบบขยายตัว -Ms เพิ่มจาก m0 ไป m1 โดยการขยาย DC - ผลคือ เศรษฐกิจขยับจากจุด 0 ไปที่ 1 เกิด BOP def เศรษฐกิจถอยในแนวราบจากจุด 1

28 นโยบายการเงินใน Swan Diagram
- Excess Supply of Money จะถูกขจัดไป จน m ลดเหลือ m0 ได้ดุลยภาพที่จุด 0 อีกครั้ง - m มีเท่าเดิม แต่มีการเปลี่ยนแปลงใน องค์ประกอบ โดยมี DC มากขึ้น แต่ NFA ลดลง เนื่องจากขาดดุล BOP

29 Time Path Reserve เพิ่ม Ms ที่ t0 time t0 t1

30 Time Path 2 BOP เพิ่ม Ms ที่ t0 + - time t0 t1

31 Time Path 3 Ms เพิ่ม Ms ที่ t0 time t0 t1

32 ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 R1 3 Ro 1 IB o m=M/PN PN Fixed

33 ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 3 4 5 1 IB o m=M/PN PN Flexible

34 ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN Fixed
การลดค่าเงินจะพระบบ ศก ออกจาก จุ ด 1 มี BOP เกินดุล ทำให้ Ms เพิ่ม ระบบ ศก เคลื่อนตัวไปที่จุด 2 บน EB ที่จุด 2 มีแรงกดดันของเงินเฟ้อ เพราะมี overemploy ถ้าไม่มีการปรับลด e ระบบ ศก จะอยู่นอกดุล IB ได้ ระยะหนึ่ง ถ้า PN ปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้ทันที แต่ไม่ค่อยพบกรณีเช่นนี้ เพราะ PN จะปรับสูงขึ้น

35 ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN flexible
การลดค่าเงินทำให้ ศก เคลื่อนจาก 1 ไป 2 มี BOP > o จึงค่อย ๆ เคลื่อนไปอยู่ที่ 2 บน EB PN เพิ่ม ศก เคลื่อนออกจาก 2 ในทิศที่ วิ่งเข้าสู่จุด origin ด้วยแรงกดดันทาง RER และ Real Money Balance Inflation จะอยู่จนกระทั่ง ศก มาอยู่ที่จุดที่ 3 บน IB เพราะ มี BOP>o ทำให้ Ms เพิ่ม เกิด inflation pressure PN เพิ่มต่อเนื่อง

36 ผลของการลดค่าเงิน ถ้า PN flexible ไม่มาก ศก จะเคลื่อนตัวต่อไปที่จุด 5
เหตุการณ์จะเกิดสลับกันจะกระทั่งได้ดุลยภาพ ทั้งภายในและภายนอก ที่จุด 0 ผลคือ การเพิ่มในทุกระดับราคา ทำให้เกิด Money Neutralkty โดยที่ระดับตัวแปรแท้จริงไม่เปลี่ยน แปลง นี่เองเป็นเหตุให้ Ron Mckinnon และ Bob Mundell เสนอว่า การลดค่าเงิน เป็นเครื่องมือที่ไร้ค่า

37 ผลของการลดค่าเงิน แต่นั่นก็เป็นข้อสรุปของกรณี PN flexible เนื่องจาก
ถ้าตลาดแรงงานปรับตัวได้ดี + PN perfectly flexible ระบบ ศก จะได้ดุล IB ตลอดเวลา หากเป็นเช่นนี้ เรา สามารถให้ e คงที่ และให้ Auto. Adj. Mechanism (AAM) ดูแล EB แต่เพราะ PN ไม่ flexible เราจึงพึ่ง AAM ไม่ได้ แสดงว่า การลดค่าเงิน มีผลต่อ Real Economy คือ ไม่เกิด Complete Pass Through ของการลดค่าเงิน

38 ตัวอย่างการปรับตัว 1 RER=e PT*/PN EB 2 1 IB o m=M/PN

39 ตัวอย่างการปรับตัว 1 เริ่มจากจุดที่ 1 ที่มี inflation + BOP deficit
AAM ทำให้เกิดการลดลงใน NFA และ M2 ศก มุ่งสู่จุด 2 ที่มีการว่างงานมากมาย ถ้า PN ลดลง ศก จะเกิดแรงขับเคลื่อนสู่ดุลภาพ ภายใน (IB) ตามความเป็นจริง ศก จะมีระดับราคาที่อ่อนไหว พอที่จะทำให้ศก เข้าสู่สุลยภาพบน EB ระหว่าง จุด 2 และดุลยภาพคู่ การลดค่าเงินยังคงจำเป็นที่จะนำ ศก สู่ดุลยภาพคู่

40 ตัวอย่างการปรับตัว 2 2 EB PN เพิ่ม 1 IB o Mo/PNo Mo/PN2 RER=e PT*/PN
m=M/PN Mo/PN2

41 ตัวอย่างการปรับตัว 2 e เพิ่ม ที่จุด 0 เกิด BOP surplus
ถ้ารัฐ sterilize การเพิ่มใน NFA NFA เพิ่ม แสดงว่า DC ต้องลด นั่นหมายถึง ธ.กลาง ต้องขาย Domestic Assets เช่น Gov’t Bond แต่จะทำได้ชั่วขณะ ไม่นานนัก M2 จะเพิ่ม ทำให้PN เพิ่มในที่สุด


ดาวน์โหลด ppt การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google