งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational Education Qualification Framework) และ หลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษา ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ หน่วยศึกษานิเทศก์

2 ประเด็นการนำเสนอ แนวทางการพัฒนาหลักสูตร สกอ.
การพัฒนาอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) กรอบการปฏิบัติและเส้นทางหลักสูตร

3 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะ ของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง ในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดีและ มีความสุข มาตรฐานที่ 2 : แนวทางการ จัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ 3 : แนวการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/ สังคมแห่งความรู้ การสร้าง วิถีการเรียนรู้ และแหล่งการ เรียนรู้ให้เข้มแข็ง มาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย สพฐ. มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. มาตรฐาน การอาชีวศึกษา สอศ. มาตรฐาน การอุดมศึกษา สกอ.

4 ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
(ด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ) ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้มีมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (สาขาการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ) กลยุทธ์: 1. การศึกษาในระดับอุดมศึกษาควรเน้นและเข้มงวดด้านคุณภาพมากกว่าจำนวน เช่น สนับสนุนระบบสหกิจศึกษา (Corporate Education) ให้มากที่สุดโดยอาศัยความร่วมมือกับสถานประกอบการ 2. สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีการแข่งขันกันในเชิงคุณภาพมุ่งเน้นด้านความเป็นเลิศ (Academic and Research Excellence) โดยมุ่งให้มหาวิทยาลัยติดอันดับสากล เริ่มจากบางสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญ 3. ใช้เกณฑ์ความเป็นเลิศและเกณฑ์เฉลี่ยของการมีงานทำของบัณฑิตเป็นเครื่องมือในการได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ที่มา: รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาความต้องการกำลังคนเพื่อวางแผนการผลิตและพัฒนา กำลังคนของประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2553

5 แนวคิดการกระจายอำนาจทางวิชาการ
กรอบแนวทางการปฏิบัติ สพฐ. สอศ. สกอ. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ...สาขาวิชา... หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ...สาขา

6 (Thai Qualification framework for Higher Education) (TQF:HEd)
อ้างถึง สกอ. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 (Thai Qualification framework for Higher Education) (TQF:HEd) ระดับคุณวุฒิ ระดับ 1 อนุปริญญา ( 3 ปี) ระดับ 2 ปริญญาตรี ระดับ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ 4 ปริญญาโท ระดับ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับ 6 ปริญญาเอก

7 อ้างถึง สกอ. มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เอกสารแนวทางการนำกรอบสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 ส่วน 1) สาระสำคัญ 2) ขั้นตอนการปฏิบัติ 3) ภาคผนวก แบบ มคอ. 1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับ......สาขา/สาขาวิชา..... แบบ มคอ. 2 รายละเอียดของหลักสูตร แบบ มคอ. 3 รายละเอียดของวิชา แบบ มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม แบบ มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา แบบ มคอ. 6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม แบบ มคอ. 7 รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร

8 หลักสูตรการอาชีวศึกษา
8 8

9 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
: ด้านการพัฒนาอาชีวศึกษา (พ.ศ ) กำลังคนที่ตอบสนองความต้องการ ครูยุคใหม่/พันธุ์ใหม่/ขาดแคลน คุณภาพ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ใหม่ การบริหารจัดการใหม่

10 การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง
1. เน้นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษา เพื่อผลิตกำลังคนที่มีความรู้ความสามารถทั้งเชิง วิชาการและวิชาชีพ มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ ในการประกอบอาชีพ เป็นกำลังคนฐานความรู้ ช่างเทคนิคที่มีฝีมือและนักเทคโนโลยี

11 การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง
2. มีการกำหนดทิศทางความต้องการกำลังคน และ สร้างระบบเครือข่ายความร่วมมือในการผลิตและ พัฒนากำลังคนจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งสมาคม วิชาชีพสถานประกอบการ/องค์กรผู้ใช้กำลังคน สถาบันการศึกษา/ผู้ผลิต 3. พัฒนาระบบเตรียมความพร้อมและการแนะแนว การศึกษาและอาชีพ ให้ผู้เรียนรู้จักตนเองและ สาขาอาชีพต่าง ๆ

12 6. ให้มีการขยายการศึกษาระบบทวิภาคี สหกิจศึกษา และการฝึกงานให้มากขึ้น
การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง 4. ส่งเสริมการทำงานระหว่างเรียน มีการพัฒนาระบบ สะสมหน่วยกิต เพื่อส่งเสริมการเรียนควบคู่กับการ ทำงาน เน้นความร่วมมือกับสถานประกอบการ 5. จัดการศึกษาและเรียนรู้อาชีวศึกษา โดยเน้นการ ปฎิบัติมากกว่าทฤษฎี และการเรียนรู้งานอาชีพ 6. ให้มีการขยายการศึกษาระบบทวิภาคี สหกิจศึกษา และการฝึกงานให้มากขึ้น 7. ให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพเมื่อจบหลักสูตร

13 ประเด็นที่ต้องพิจารณา
ความต้องการของตลาดแรงงาน/การจ้างงาน/ การประกอบอาชีพอิสระ จำนวนและคุณสมบัติผู้เข้าเรียน คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ความรู้ ทักษะ เจตคติ กิจนิสัย) หลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษา เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ การสนับสนุนและความร่วมมือภาครัฐ-เอกชน 13

14 กรอบการทำงานด้านอัตลักษณ์หลักสูตรการอาชีวศึกษา
ในโครงการประชุมการเตรียมความพร้อมครั้งนี้ ปรัชญาของหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร รูปแบบการจัดการศึกษา -การศึกษาระบบทวิภาคี -สหกิจศึกษา -ฝึกงาน -สร้างรายวิชาร่วมกับ สถานประกอบการ -อื่น ๆ ความแตกต่าง ระหว่างหลักสูตร ปริญญาตรี สกอ. กับ สอศ.

15 หลักสูตรการอาชีวศึกษา
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรือสายปฏิบัติการ หลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู้ หรือทักษะในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้ 15 15

16 หลักสูตรการอาชีวศึกษา 9 ประเภทวิชา
1 อุตสาหกรรม 2 พาณิชยกรรม / บริหารธุรกิจ ศิลปกรรม คหกรรม 5 เกษตรกรรม ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ มุ่งเสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคมอย่างยั่งยืน (1) การเสริมสร้าง และพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิตในสังคมไทย โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสำนึก ค่านิยมวัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่เยาวชน และประชาชนทุกระดับ พร้อมทั้งพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำประชาธิปไตยที่มีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสังคมทุกระดับตลอดจนวางรากฐานกระบวนการประชาธิปไตยโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และเพิ่มประสิทธิภาพกลไกและกระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐและการเมืองให้เข้มแข็งและเป็นอิสระมากขึ้น (2) เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้สามารถเข้าร่วมในการบริหารจัดการประเทศ ให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม เพื่อสร้างความเป็นธรรม สร้างความสมดุล และร่วมในกระบวนการบริหารจัดการประเทศให้เกิดความเป็นธรรมและความโปร่งใสในการพัฒนาประเทศ เสริมสร้างความเข้มแข็ง และสร้างเครือข่ายการทำงานของกลไกตรวจสอบภาคประชาชน (3) สร้างภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล เน้นการบริการ แทนการกำกับควบคุม และทำงานร่วมกับหุ้นส่วนการพัฒนา ด้วยการปรับบทบาทโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการภาครัฐและรัฐวิสาหกิจให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ลดการบังคับควบคุม คำนึงถึงความต้องการของประชาชนและทำงานร่วมกับหุ้นส่วนการพัฒนา เพิ่มบทบาทภาคเอกชนในกิจการของรัฐและรัฐวิสาหกิจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการให้บริการสาธารณะ และลดภาระการลงทุนของภาครัฐ ตลอดจนพัฒนากลไกการกำกับดูแลที่เข้มแข็งเพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม โปร่งใส (4) การกระจายอำนาจการบริหารจัดการประเทศสู่ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชนเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยพัฒนาศักยภาพ และกระจายอำนาจการตัดสินใจให้ท้องถิ่นมีบทบาทสามารถรับผิดชอบในการบริหารจัดบริการสาธารณะ ตลอดจนแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และสามารถสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (5) ส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชนให้เกิดความเข้มแข็ง สุจริต และมีธรรมาภิบาล โดยมีมาตรการส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจให้ธุรกิจเอกชนทั้งที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และธุรกิจเอกชนทั่วไปเป็น“บรรษัทภิบาล”เพิ่มมากขึ้น สร้างจิตสำนึกในการประกอบธุรกิจอย่างซื่อสัตย์ ยุติธรรมต่อผู้บริโภค เป็นธรรมกับธุรกิจคู่แข่ง ยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม แบ่งบันผลประโยชน์คืนสู่สาธารณะ (6) การปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบ และขั้นตอน กระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อสร้างความสมดุลในการจัดสรรประโยชน์จากการพัฒนา ด้วยการเปิดโอกาสให้ภาคีและกลุ่มต่างๆ มีส่วนร่วมในการเสนอแนะและตรากฎหมาย โดยการปฏิรูปกฎหมายเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ลดการใช้ดุลพินิจของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งของกลไกการบังคับใช้กฎหมาย (7) การรักษาและเสริมสร้างความมั่นคงเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสู่ดุลยภาพและความยั่งยืน โดยการพัฒนาศักยภาพ บทบาท และภารกิจของหน่วยงานด้านการป้องกันประเทศ ความมั่นคง และการรักษาความสงบเรียบร้อย ให้มีประสิทธิภาพมีความพร้อมในการป้องกันประเทศและตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบสถานการณ์ได้ฉับไว พร้อมทั้งผนึกพลังร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ดำเนินการป้องกันและพัฒนาประเทศ ประมง อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 8 อุตสาหกรรมสิ่งทอ 9 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 16 16

17 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะ ของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง ในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดีและ มีความสุข มาตรฐานที่ 2 : แนวทางการ จัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ 3 : แนวการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/ สังคมแห่งความรู้ การสร้าง วิถีการเรียนรู้ และแหล่งการ เรียนรู้ให้เข้มแข็ง มาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย สพฐ. มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. มาตรฐาน การอาชีวศึกษา สอศ. มาตรฐาน การอุดมศึกษา สกอ.

18 การกำหนดชื่อปริญญา แบ่งเป็น 4 ประเภท ปริญญาศิลปศาสตร์
1 ปริญญาวิทยาศาสตร์ 2 ปริญญาวิชาชีพ 3 ปริญญาทางเทคโนโลยี 4 ที่มา: ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อ ปริญญา พ.ศ ลงวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2549

19 ปริญญาทางเทคโนโลยี สาขาวิชาที่ใช้ชื่อปริญญานี้มีลักษณะเป็นการนำวิทยาศาสตร์ประยุกต์ไปใช้พัฒนาความรู้และทักษะเชิงปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานในด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม การศึกษา เคหะการและการดูแลรักษาสุขภาพ มีลักษณะเป็นหลักสูตรแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) เพื่อสร้างความชำนาญการเฉพาะทาง ให้ใช้เฉพาะระดับปริญญาตรี โดยให้ใช้ชื่อว่า “เทคโนโลยีบัณฑิต (Bachelor of Technology)” ที่มา: ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อ ปริญญา พ.ศ ลงวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2549

20 ที่มาของหลักสูตรการอาชีวศึกษา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ กรอบมาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา หลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษา

21 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พรบ. การอาชีวศึกษา 2551 หลักสูตรการอาชีวศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ...... - ชื่อหลักสูตร - มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ - จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร - เนื้อหาสาระสำคัญของหลักสูตร - แนวทางการจัดการเรียนการสอน - การนำกรอบคุณวุฒิฯ สู่การปฏิบัติ จัดการศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. จัดการศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และ ป.ตรี กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติ 2554 (TQF:VEd) สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สถานศึกษาอาชีวศึกษา ตามมาตรา 12 สถาบันการอาชีวศึกษา ตามมาตรา 13, 14, 15, 16 และ 17 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอาชีวศึกษา

22 -ร่าง- ระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับหลักสูตร
ร่าง ระเบียบ ว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผล หลักสูตรระดับปริญญาตรี ร่าง ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษา

23 วัตถุประสงค์ สาระ : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ
เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สำเร็จการศึกษา

24 ระดับคุณวุฒิ แบ่งออกเป็น
1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพระยะสั้น 2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 4. ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ

25 กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
หมายถึง กรอบที่แสดงรายละเอียดของข้อกำหนด ในการจัดระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพตามสาขาวิชา โครงสร้างหลักสูตรและขอบข่ายหรือข้อกำหนดที่ต้อง ใช้ในการบริหารจัดการตามลักษณะของหลักสูตร แต่ละระดับคุณวุฒิของการจัดการศึกษาด้าน อาชีวศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือ ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและจัดการเรียนการ สอน เพื่อให้คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาของระดับ คุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้

26 คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับ
คุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชาต่าง ๆ จะต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ

27 ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษานำกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ไปพัฒนากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพสาขาวิชาต่าง ๆ ของแต่ละระดับคุณวุฒิ เพื่อสถาบันการอาชีวศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา หรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาของระดับคุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้

28 ให้สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาพัฒนา หรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตร ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ตามระดับคุณวุฒิของแต่ละสาขาวิชา และรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรตามที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด

29 เครื่องมือที่ใช้ในการบริหารหลักสูตร
แบบคุณวุฒิอาชีวศึกษา 1-6 คอศ. 1 แบบกำหนดกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ คอศ. 2 แบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา คอศ. 3 แบบรายงานข้อมูลเพื่อการพิจารณาหลักสูตร คอศ. 4 แบบเทียบหลักสูตรเพื่อคุณภาพการศึกษา คอศ. 5 แบบพิจารณาหลักสูตร คอศ. 6 แบบรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร

30 เครื่องมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 Thai Qualification Framework for Vocational Education (TQF:VEd) มาตรฐานอาชีพ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ กรอบมาตรฐานหลักสูตร สอศ. คอศ. 1 หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ ระเบียบ ข้อบังคับ สถานศึกษาสถาบัน เห็นชอบ วางแผนปรับปรุง-พัฒนา จัดทำ/พัฒนาหลักสูตร สอศ. ติดตาม การดำเนินการ ตาม TQF: VEd คอศ. 2 คอศ. 3, 4 คอศ. 5 ประเมินผลการดำเนินการ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร จัดกระบวนการเรียนการสอน ที่ทำให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ กอศ. อนุมติ จัดทำฐานข้อมูลหลักสูตร ที่ได้มาตรฐาน รับรองหลักสูตรรับรองคุณวุฒิ คอศ. 6 วัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ครู คณาจารย์ บุคลากร เผยแพร่หลักสูตร ชุดการสอน ความร่วมมือ/ทวิภาคี ผู้สำเร็จการศึกษามีมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพตามที่กำหนดไว้ในกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ มีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงาน สังคม สามารถประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อได้ สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม สื่อ ครุภัณฑ์ การวิจัยและพัฒนา 30

31 หลักการสำคัญของกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
1. เป็นเครื่องมือในการนำนโยบายการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติ 2. มุ่งเน้นที่ให้ผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะตรงตาม มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะ 3. เป็นเครื่องมือที่ใช้สื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ และความมั่นใจในกลุ่มผู้เกี่ยวข้องที่มีประสิทธิภาพ 4. มุ่งให้คุณวุฒิของทุกสถาบันเป็นที่ยอมรับและ สามารถเทียบเคียงกันได้ 5. เปิดโอกาสให้สถาบันสามารถจัดหลักสูตร และการ เรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้สำเร็จ การศึกษาสามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ

32 เปรียบเทียบ องค์ประกอบ คอศ. 1 : มคอ. 1
กรอบคุณวุฒิการศึกษา วิชาชีพ สอศ. มาตรฐานคุณวุฒิ สกอ. 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อประกาศนียบัตร/ ปริญญาและสาขาวิชา 3. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 4. โอกาสในสายงานวิชาชีพ 5. องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 6. มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ 7. จำนวนหน่วยกิตและ โครงสร้างหลักสูตร 8. เนื้อหาสาระสำคัญของหลักสูตร 1. ชื่อสาขา/สาขาวิชา 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 3. ลักษณะของสาขา/สาขาวิชา 4. คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5. มาตรฐานผลการเรียนรู้ 6. องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 7. โครงสร้างหลักสูตร 8. เนื้อหาสาระสำคัญของสาขา 9. กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ 10. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ 11. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้

33 เปรียบเทียบ องค์ประกอบ คอศ. 1 : มคอ. 1
กรอบคุณวุฒิการศึกษา วิชาชีพ สอศ. มาตรฐานคุณวุฒิ สกอ. 9. แนวทางการจัดการเรียนการสอน 10. การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 11. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา 12. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ 13. การประกันคุณภาพหลักสูตร 14. การนำกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพสู่การปฏิบัติ 15. ภาคผนวก (ถ้ามี) 12. คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน การเรียนการสอน 13. ทรัพยากรการเรียนการสอนและ การจัดการ 14. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ 15. การประกันคุณภาพหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอน 16. การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับ สาขา/สาขาวิชา สู่การปฏิบัติ 17. การเผยแพร่หลักสูตรฯ 18. รายชื่อหน่วยงานของคณะกรรมการจัดทำมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา สาขา/สาขาวิชา 19. ภาคผนวก (ถ้ามี)

34 ตัวอย่าง ชื่อปริญญาทางเทคโนโลยี
ชื่อหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรต่อเนื่อง) Bachelor of Technology Program (Continuing Program) 2. ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม เทคโนโลยีบัณฑิต (เวชนิทัศน์) Bachelor of Technology (Biomedical and Communications) ชื่อย่อ ทล.บ. (เวชนิทัศน์) B. Tech. (Biomedical and Communications) ที่มา : หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเวชนิทัศน์ (หลักสูตรต่อเนื่อง) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

35 จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร
หน่วยกิตและหมวดวิชาจะต้องสอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานหลักสูตรอาชีวศึกษาในแต่ละระดับ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ - ระดับ ปวช. ระหว่าง หน่วยกิต - ระดับ ปวส ระหว่าง หน่วยกิต - ระดับ ป.ตรี ระหว่าง หน่วยกิต

36 กรอบมาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2552
ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ต่อเนื่อง) หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ รวมไม่น้อยกว่า 18 นก. 2. หมวดวิชาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 48 นก. (ไม่น้อยกว่า 42 นก. และโครงการพิเศษ 6 นก.) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี รวมไม่น้อยกว่า 6 นก. หน่วยกิตรวม ระหว่าง นก.

37 แนวคิดโครงสร้างหลักสูตร
ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชา 1. หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ รวมไม่น้อยกว่า 2. หมวดวิชาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน 2.2 วิชาชีพเฉพาะ/สาขาวิชา 2.3 วิชาชีพเลือก/สาขางาน 2.4 โครงการพิเศษ ( 6 หน่วยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี รวมไม่น้อยกว่า รวมไม่น้อยกว่า 37

38 เกณฑ์การรับรองคุณวุฒิของสำนักงาน ก.พ.
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ต้องศึกษาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า หน่วยกิต ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และอนุปริญญา ต้องศึกษาวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี (จำนวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต) ต้องศึกษาวิชาเฉพาะคือ วิชาแกน/วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต (ในกรณีหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง พิจารณาจากรายวิชาที่ศึกษาในระดับปริญญาตรี 2 ปีหลัง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต แล้วจึงพิจารณาจาก ปวส. หรือ อนุปริญญา หรือเทียบเท่า ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต)

39 การจัดชั่วโมงเรียน การจัดเวลาการเรียนรู้มีข้อกำหนด ดังนี้
การจัดเวลาการเรียนรู้มีข้อกำหนด ดังนี้ 1. ชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี 2. ชั่วโมงเรียนภาคปฏิบัติ 3. ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลา หน่วยกิต ชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี ชั่วโมงเรียนภาคปฏิบัติ ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลา X (X–X–X)

40 ชม.ศึกษานอกเวลา = ชม.เรียนทฤษฎีx2 + ชม.เรียนปฏิบัติ
ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลาให้คำนวณตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจากสูตร ดังนี้ ชม.ศึกษานอกเวลา = ชม.เรียนทฤษฎีx2 + ชม.เรียนปฏิบัติ 2.5 3 (3-0) 3x2 = (3-0-6) 3 (2-2) 2x2 = 4+(2/2.5 = 0.8) = (2-2-5) 3 (2-3) 2x2 = 4+(3/2.5 = 1.2) = 5 3 (2-3-5) หมายเหตุ : หากผลการคำนวณที่ได้มีจุดทศนิยม ปฏิบัติดังนี้ น้อยกว่า 0.5 ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปให้ปัดเป็น 1 ทั้งนี้ ในการกำหนดในรายวิชาที่ไม่มีการศึกษานอกเวลาเช่น วิชาฝึกงานหรือโครงการเป็นต้นให้ใช้ตัวเลข 0 แทน ที่มา : เอกสารสำเนาการพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

41 รูปแบบรายวิชาตามหลักสูตร
xxxx-xxxx ชื่อวิชาภาษาไทย น (ท-ป-ศ) (ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ) วิชาบังคับก่อน : (ถ้ามี) คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับ/ปฏิบัติเกี่ยวกับ/ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ___________________________________________ _________________________________________________ ______________________________ 41 41 41

42 ภาพรวมของหลักสูตรอาชีวศึกษา
1. เป็นหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ผู้สำเร็จการศึกษาต้องมีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนด (8.1) 2. มีครุภัณฑ์และบุคลากรทางการศึกษาสอดคล้องกับที่หลักสูตรกำหนด (8.2) 3. อัตราส่วนเวลาเรียนทฤษฎี:ปฏิบัติ 40:60 (8.3) 4. ให้ความสำคัญกับการศึกษาระบบทวิภาคี (8.5) 5. เรียนเป็นชิ้นงานในแต่ละภาคเรียน (8.4) และจัดทำโครงการพิเศษ (8.6) รวมทั้งให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ (8.7) 6. เป็นหลักสูตรปริญญาตรี “ต่อเนื่อง” จาก ปวส.

43 ทำไมต้องทวิภาคีหรือสหกิจศึกษา ?
โลกของการแข่งขัน นักศึกษาได้รับประโยชน์สูงสุด เป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพในการทำงาน ลดช่องว่างระหว่างโลกของอาชีพกับโลกของการศึกษา เกิดความร่วมมือทางวิชาการ การมีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิต มีการปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา

44 สหกิจศึกษา Cooperative Education สหกิจศึกษา จึงหมายถึง...
ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน สหกิจศึกษา จึงหมายถึง... การศึกษาที่ทำร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการเพื่อให้เกิดการศึกษาที่ดี...

45 สหกิจศึกษาคืออะไร Cooperative Education เป็นรูปแบบการศึกษาที่จัดให้มีการเรียนการสอนในสถานศึกษาสลับกับการไปหาประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการอย่างมีระบบ ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

46 การศึกษาระบบทวิภาคีต่างกับสหกิจศึกษาหรือฝึกงาน ?
เป็นการนำรายวิชาไปเรียนรู้ในสองสถานที่ คือ สถาบัน- การศึกษาและสถานประกอบการ เป็นการให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติงานจริงเต็มเวลา อย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา รูปแบบจะเป็นพนักงานมาเรียนรู้ หรือนักศึกษาทำสัญญามี สถานภาพเหมือนพนักงาน ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของ สถานประกอบการ นักศึกษาทำงานตรงกับสาขาวิชาชีพเลือกศึกษา มีการประเมินจากครูฝึกและอาจารย์อย่างมีระบบ มีการจัดทำโครงการพิเศษที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา สถาบัน หรือสถานประกอบการ

47 กรอบการปฏิบัติงาน ประกาศ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2554 จัดทำกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพเพื่อใช้เป็นกรอบ การพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี เข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ ประชาพิจารณ์กับผู้ใช้หลักสูตร ในสถาบันต่าง ๆ และประกาศใช้ สถาบันนำกรอบคุณวุฒิฯ ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร

48 การพัฒนาหลักสูตรในสถาบันการอาชีวศึกษา
คณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ศึกษากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ : คอศ.1 จัดทำแบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา : คอศ. 2 วิเคราะห์ความ สอดคล้อง ของหลักสูตร หากไม่สอดคล้อง เสนอกรรมการวิชาการของสถาบันตรวจสอบ เสนอสภาสถาบันเห็นชอบหลักสูตร เสนอ กอศ. อนุมัติหลักสูตร

49 เส้นทางเดินของหลักสูตร
สถาบัน พัฒนาหลักสูตร ตรวจสอบโดย คณะกรรมการ ที่ได้รับแต่งตั้ง โดยสภาสถาบัน เห็นชอบโดยสภาสถาบัน ผ่านอนุกลั่นกรอง และอนุกรรมการด้าน มาตรฐานหลักสูตร เสนอ กอศ. อนุมัติหลักสูตร แจ้งผล การอนุมัติ/ รับรองหลักสูตร แก่สถาบัน สอศ. ดำเนินการ จัดทำฐาน ข้อมูลกลาง เสนอ สกอ. รับรองหลักสูตร เสนอ กพ. รับรองคุณวุฒิ

50 เป้าหมายหลักสูตรปริญญาตรี ปี 2555
ประเภทวิชา สาขาวิชา อุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บริหารธุรกิจ เทคโนโลยีไฟฟ้า เทคโนโลยีเครื่องกล เทคโนโลยีแม่พิมพ์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ 5. เทคโนโลยียางฯ เทคโนโลยีสารสนเทศ 7. การบัญชี 8. การตลาด 9. คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 10. การจัดการ 11. การจัดการโลจิสติกส์คลังสินค้า

51 เป้าหมายหลักสูตรปริญญาตรี ปี 2555
ประเภทวิชา สาขาวิชา 4. อุตสาหกรรมท่องเทียว 5. ศิลปกรรม 6. คหกรรม 12. การท่องเที่ยว 13. การโรงแรม 14. ออกแบบผลิตภัณฑ์ 15. ช่างทองหลวง 16. คอมพิวเตอร์กราฟฟิค 17. ออกแบบอัญมณีฯ 18. เทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ 19. เทคโนโลยีออกแบบแฟชั่น 20. การจัดการคหกรรม

52 เป้าหมายหลักสูตรปริญญาตรี ปี 2555
ประเภทวิชา สาขาวิชา 7. เกษตรกรรม 8. ประมง 21. เทคโนโลยีการผลิตพืช 22. เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ 23. เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 24. เทคโนโลยีแปรรูปสัตว์น้ำ

53 กิจกรรม ระยะเวลา สถานที่
แผนการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สถาบันการอาชีวศึกษา กิจกรรม ระยะเวลา สถานที่ ๑.รวบรวมความต้องการพัฒนาหลักสูตรและ วิพากย์ คอศ.๑ – คอศ.๖ (๒๔สาขาวิชา) ๑๗–๑๙ ม.ค. ๕๕ รร.เอเชีย แอร์พอร์ท รังสิต ๒.จัดทำต้นแบบ คอศ.๑ ๖ สาขาวิชา ๒๐ – ๒๒ ก.พ.๕๕ รร.ตักสิลา มหาสารคาม ๓.วิพากย์ต้นแบบ ๖ สาขาวิชา (ประธานกลุ่ม) ๒๓ ก.พ.– ๗ มี.ค. สถานศึกษา ๔. บรรณาธิการกิจ (ศึกษานิเทศก์) ๙ มี.ค. ๕๕ หน่วยศึกษานิเทศก์ ๕. จัดทำกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ.๑) ๑๘ สาขาวิชา+ตามที่สถาบันขอกำหนดเพิ่ม ๑๒ – ๑๔มี.ค. ๕๕ รร.ในเขต กทม.และปริมณฑล ๖. วิพากย์ และบรรณาธิการกิจ คอศ.๑ ๑๕-๑๖มี.ค. ๕๕ ๗. จัดทำแบบเสนอหลักสูตร (คอศ.๒) ๒๖-๓๐ มี.ค. ๕๕ ๘. วิพากย์ และบรรณาธิการกิจ (คอศ.๒) ๙-๑๑ เม.ย. ๕๕

54 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google