งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

2 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สทศ. ออกข้อสอบอย่างไร ทำผังการออกข้อสอบ ระบุจำนวนมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และระบุ จำนวนข้อ ออกข้อสอบตามผังการออกข้อสอบ กลั่นกรองให้ได้ข้อสอบที่ดี พิมพ์ต้นฉบับ

3 ข้อสอบของสทศ. ข้อสอบของสทศ.เน้นการคิดวิเคราะห์ เพราะ
สังคมต้องการเด็กไทยที่คิดวิเคราะห์ได้ หลักสูตรเน้นที่การคิดวิเคราะห์ ใน ปพ.1 (transcript หรือ สมุดพก) โรงเรียนต้อง ประเมินผลการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนได้ 3 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี และผ่านเกณฑ์ประเมิน ประกาศผลสอบ O-NET เมื่อไหร่ ประกาศผลสอบกลางเดือนมีนาคม เพื่อโรงเรียนจะได้นำ คะแนนไปใส่ใน ปพ.1

4 จำนวนข้อสอบ O-NET วิชา ป.6 ม.3 ภาษาไทย 18 15 สังคมศึกษาฯ 12 ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ 20 วิทยาศาสตร์ 13 สุขศึกษาฯ 6 7 ศิลปะ การงานอาชีพฯ

5 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

6 2) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ

7 3) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

8 4) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

9 5) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

10 6) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

11 7) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

12 8) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

13 ข้อสอบของสทศ. รูปแบบข้อสอบของสทศ. มี 4 แบบ คือ 1) แบบเลือกตอบ นักเรียน 1.1 เลือกตัวเลือกที่ถูกที่สุด 1 ตัว หรือ 1.2 เลือกตัวเลือกที่ถูกหลายตัว 2) แบบเลือกหลายคำตอบจากหมวดคำตอบที่ให้ คำตอบที่เลือกต้อง เชื่อมโยงกัน 3) แบบระบายคำตอบที่เป็นค่าหรือตัวเลข 4) แบบอ่านบทความแล้วเลือกคำตอบที่ต้องคิดวิเคราะห์เนื้อหาที่อ่าน

14 ข้อสอบของสทศ. 1. แบบเลือกตอบ 1.1 เลือกตัวเลือกที่ถูกที่สุด 1 ตัว

15 ข้อสอบของสทศ. 1. แบบเลือกตอบ 1.2 เลือกตัวเลือกที่ถูกหลายตัว

16 ข้อสอบของสทศ. 2. แบบเลือกหลายคำตอบจากหมวดคำตอบที่ให้ คำตอบที่เลือกต้องเชื่อมโยงกัน

17 ข้อสอบของสทศ. 3.แบบระบายคำตอบที่เป็นค่าหรือตัวเลข ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จำนวนและมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 12 ถ้าควอไทล์ที่ 1 และ 3 ของข้อมูล ชุดนี้มีค่าเท่ากับ 5 และ 20 ตามลำดับ แล้วเดไซล์ที่ 5 ของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่าใด

18 ข้อสอบของสทศ. 4. แบบอ่านบทความแล้วเลือกคำตอบที่ต้องคิดวิเคราะห์เนื้อหาที่อ่าน

19 ข้อสอบของสทศ. ข้อสอบฉบับสั้น ปี พ.ศ สทศ. เปลี่ยนจำนวนและรูปแบบของข้อสอบ O-NET ป.6 และ ม.3 เป็นฉบับสั้น 1. ข้อสอบฉบับสั้น คืออะไร คือ ข้อสอบที่สอบ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 76 มาตรฐานการเรียนรู้ จำนวน ข้อ แบ่งเป็น 2 ฉบับ สอบฉบับละ 1 ชั่วโมง 30 นาที ฉบับที่ 1 ประกอบด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ฉบับที่ 2 ประกอบด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

20 ข้อสอบของสทศ. 2. ฉบับสั้นใช้เฉพาะชั้นใดบ้าง ใช้เมื่อไร เพราะอะไร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษา ปีที่ 3 จะเริ่มใช้สอบในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 และ ในปีต่อๆ ไปด้วย เหตุผลที่สทศ.ใช้ O-NET ฉบับสั้น เพราะโรงเรียนไม่ได้นำผลสอบ O-NET ไปใช้ อย่างคุ้มค่า

21 ข้อสอบของสทศ. 3. ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้นวัดผลได้เหมือนฉบับยาวจริงหรือ? จริง เพราะจากการนำข้อสอบและคะแนนที่สอบเมื่อปี พ.ศ มาจัดแยกเป็นฉบับสั้น 2 ฉบับๆ ละ 76 ข้อ ตามมาตรฐานการ เรียนรู้ และนำคะแนนของนักเรียน ป.6 ม.3 และ ม.6 จากข้อสอบ ดังกล่าว มาวิเคราะห์ สรุปได้ ผลดังนี้

22 ข้อสอบของสทศ. 4. ผลวิเคราะห์ข้อสอบ O-NET ฉบับสั้นและฉบับยาว
ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบข้อสอบฉบับสั้น ฉบับ 1 และ มีค่า .8-.9 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างข้อสอบฉบับสั้นกับข้อสอบฉบับยาว (ทั้งหมด) มีค่า .8-.9 ค่าความเที่ยงของข้อสอบฉบับสั้น มีค่า .5-.8 ค่าความคลาดเคลื่อนจากการวัด มีค่า 1.3-4

23 ข้อสอบของสทศ. 5. สอบ O-NET ฉบับสั้น นักเรียนจะได้อะไร
นักเรียนได้รายงานผลสอบแยกกลุ่มสาระ (เหมือนเดิม) 6. สอบ O-NET ฉบับสั้น โรงเรียนจะได้อะไร จะได้รายงานผลสอบของนักเรียนของตน (เหมือนเดิม) โดยแยก คะแนนเป็นกลุ่มสาระ รายสาระ รายมาตรฐานการเรียนรู้ เปรียบเทียบกับค่าสถิติระดับสังกัด และประเทศ เพื่อนำไปใช้ ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนต่อไป

24 ข้อสอบของสทศ. 7. สอบ O-NET ฉบับสั้น ประเทศจะได้อะไร
ประเทศจะได้ค่าสถิติที่สะท้อนความรู้ของนักเรียน(เหมือนเดิม) เพื่อ นำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของประเทศต่อไป ลดงบประมาณรายจ่ายของประเทศ


ดาวน์โหลด ppt ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google