งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนา PHC4D สาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนา PHC4D สาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนา PHC4D สาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4
PRIMARY HEALTH CARE IN THE 4 DECADE เอกสารทบทวนแนวคิดทิศทางและประเด็นเพื่อการพัฒนาไม่ควรใช้อ้างอิง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

2 สาธารณสุขมูลฐาน การพัฒนา PHC4D ในทศวรรษที่ 4
PRIMARY HEALTH CARE IN THE 4th DECADE เอกสารทบทวนแนวคิดทิศทางและประเด็นเพื่อ การเรียนรู้ร่วมกันในการพัฒนา สสม จัดนำเสนอ ในวาระอื่นๆ ประชุม กรม สบส 23 มค 2551 ยังไม่ควรใช้อ้างอิงทางวิชาการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

3 PHC4D คืออะไร PRIMARY HEALTH CARE IN THE 4th DECADE ในปี ประเทศไทย จะก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ของการดำเนินงาน สสม หรืออาจเรียกว่า การสาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4 (PRIMARY HEALTH CARE IN THE 4th DECADE หรือย่อว่า PHC4D) “I am committed to integrated primary health care as a strategy for strengthening health systems.” Dr. Margaret Chan, DG of WHO, 4 Jan 2007 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

4 PHC4D ทศวรรษที่ 4 EMPOWERING COM FOR Health กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 1-3 ( ) ทศวรรษที่ 1 สร้างหลักปักฐาน ผสส-อสม ทศวรรษที่ 2 พึ่งตนเอง-สร้างหลักประกัน ทศวรรษที่ 3 สุขภาพดีถ้วนหน้า-UNIVERSAL COVERAGE ทศวรรษที่ 4 EMPOWERING COM FOR Health ประชาลิขิตสุขภาพ กำหนดเอง ภายใต้ยุทธศาสตร์ พอเพียง หรือ หลักการ EQUITY-EQUALITY ? กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

5 จุดท้าทาย ของการพัฒนา สสม ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเงินที่ถืออยู่ในมือ แต่อยู่ที่ การพัฒนาศักยภาพคน การบริหารจัดการระบบและขั้นตอนที่จะทำงานให้เกิดผลสำเร็จ นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ 17 ธค 2550 รร.ริชมอนด์ ก้าวไปข้างหน้าอย่างไร PHC4D เราควรจัดเวทีทบทวน เรียนรู้ร่วมกันและช่วยกันสร้างสรรค์ทางเดินใหม่เพื่อให้เพื่อนร่วมทาง ก้าวด้วยความมั่นใจ มีความสง่างามและก้าวไปถึงจุดหมายอย่างมีความสุข คำถาม SCAMPER จะนำมาใช้เสมอในทุกเวที S = Substitute มีวิธีอื่นใช้แทนได้หรือไม่ C = Combine จะรวมเข้าด้วยกันได้หรือไม่ A = Adapt จะปรับให้เข้ากันได้หรือไม่ P = Put to other Purposes จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่นได้หรือไม่ E = Eliminate จะตัดออกได้หรือไม่ R = Rearrange จะจัดรูปใหม่ได้หรือไม่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

6 กรอบแนวทางดำเนินงาน สุขภาพภาคประชาชน ปัจจุบัน

7 What is “Primary Health Care”?
ทบทวนแม่บท สสม WHO - Declaration of Alma-Ata, 1978 "Primary health care is essential health care based on practical, scientifically sound and socially acceptable methods and technology made universally accessible to individuals and families in the community through their full participation and at a cost that the community and country can afford to maintain at every stage of their development in the spirit of self reliance and self-determination. International Conference on Primary Health Care, Alma-Ata, USSR, 6-12 September 1978

8 ทบทวนแม่บท สสม PHC=integral part It forms an integral part both of the country's health system, of which it is the central function and main focus, and of the overall social and economic development of the community. WHO - Declaration of Alma-Ata, 1978

9 PHC-first level of contact
ทบทวนแม่บท สสม PHC-first level of contact It is the first level of contact of individuals, the family and community with the national health system bringing health care as close as possible to where people live and work, and constitutes the first element of a continuing health care process." WHO - Declaration of Alma-Ata, 1978

10 In the current contexts….
ทบทวนแม่บท สสม In the current contexts…. I am committed to integrated primary health care as a strategy for strengthening health systems. Of all my initial commitments, this one has provoked the most discussion within and outside the Organization. As you know, we have made the primary health care approach a focus for wide consultation. In the broader context of development, we can see the importance of the value system that is part of this approach: the focus on equity, universal access according to need, the provision of comprehensive and affordable care, local ownership, and sustainability. With health now directly linked to poverty alleviation, and with our commitment to the Millennium Development Goals, we can see the core importance of these values in today’s international development agenda. (Dr. Margaret Chan, DG of WHO, 4 Jan 2007) Dr. Magaret Chan, WHO Director General 4 Jan 2007; Address to WHO staff, first day in office. Int’l Conference on Health for Development, Buenos Aires, Argentina, 16 Aug 2007 The contribution of primary health care to the Millennium Development Goals ….But the Health for All movement paved the way for the even more ambitious goals agreed on at the start of this century. The three political struggles were victorious, and this victory is embodied in the Millennium Development Goals. First, the goals place health firmly at the centre of the development agenda. Second, the goals make intersectoral collaboration a prerequisite for success. They attack the root causes of poverty and acknowledge that these causes interact. Third, by making better health a poverty-reduction strategy, the goals move the health sector from a mere consumer of resources to a producer of economic gains. In this sense, the Millennium Development Goals can be viewed as yet another legacy of the Health for All movement and the declaration that launched it……

11 Suggested 3 country priorities (immediate action—within December 2007)
Group work: Meeting on Revisiting CBHW and CHVs, Chiang Mai, 3-5 Oct 2007 Suggested 3 country priorities (immediate action—within December 2007) Apply strategy map to be implemented at local level Forums among partners at national level Roles+ functions Review training capacity for all partners at all levels Universities and educational institutes Review financing and administrative framework to facilitate implementation of strategy map Appointed committee under NHSO Board(s1-2) Suggested WHO contributions Training strategy map Establish learning centers for in-countries and inter countries Networking VHV, CBHW Monitor and evaluate outcomes

12 Future directions of PHC -TAO
ทบทวน สสม สากล สร้างจินตนาการ/ PREVISION Future directions of PHC -TAO Decentralize PHC management and implementation through local authority organization – TAO Building capacity of local administration(s1) Seeking political commitment(s4-1) Revising existing law and regulations to be in line with current situation and future development(s4-2) Establishment of WHO CC on PHC(s3-1) Reconsidering specific roles of volunteers(s3-2)

13 วิเคราะห์ PHC 4D จุดหมายคือ??
กรมวิชาการ สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัยพัฒนา ชมรม องค์กร วิชาชึพ การแพทย์การสาธารณสุข กระบวนการวิเคราะห์/ ระดมความคิดเพื่อสร้าง แผนที่ยุทธศาสตร์ชุมชน สธ.สปสช. สสส NGO เครือข่าย นักพัฒนา วิชาการ กลุ่ม องค์กรนักบริหาร จัดการชุมชน แผนที่ยุทธศาสตร์ ชุมชนด้านต่างๆ งบp&p สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล พรรคการเมือง กองทุนชุมชน อสม /ชมรมสร้างสุขภาพ อปท./ศาสนสถาน/โรงงานโรงเรียน วัดฯลฯ ความรู้ งบ สสม10000 การจัดการระบบ สุขภาพในชุมชน กลุ่ม/องค์กร ทุนชุมชน สำนัก กองต่างๆใน สบส ครอบครัว-บุคคล มีส่วนร่วม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดทำโครงการ/กิจกรรมตามศักยภาพ/สภาพปัญหา/ ความต้องการของชุมชน โดยชุมชนเพื่อชุมชน ปัจจัยเสริม/ต่อต้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ทัศนะผู้นำฯลฯ ประชาชนมีสุขภาพ-สุขภาวะดีขึ้น-ชุมชนเข้มแข็ง

14 จับประเด็นยุทธศาสตร์ PHC 4D
กรมวิชาการ สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัยพัฒนา ชมรม องค์กร วิชาชึพ การแพทย์การสาธารณสุข สธ.สปสช. สสส NGO แผนที่ยุทธศาสตร์ ชุมชนด้านต่างๆ เครือข่าย นักพัฒนา วิชาการ กลุ่ม องค์กรนักบริหาร จัดการชุมชน แผนที่ยุทธศาสตร์ สร้างสุขภาพชุมชน งบp&p 37.50ต่อหัว วิทยากรกระบวนการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างพื้นที่(TCDA) กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เรียนรู้และลงมือทำ กิจกรรมร่วมกัน กองทุนชุมชน อสม /ชมรมสร้างสุขภาพ อปท./ศาสนสถาน/ที่ทำงาน/โรงงาน/โรงเรียน วัดฯลฯ ความรู้ งบ สสม10000 พรรคการเมือง การจัดการระบบ สุขภาพในชุมชน กลุ่ม/องค์กร ทุนชุมชน สช+ส+วศ+สรส+ ครอบครัว-บุคคล มีส่วนร่วม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดทำโครงการ/กิจกรรมตามศักยภาพ/สภาพปัญหา/ ความต้องการของชุมชน โดยชุมชนเพื่อชุมชน เพิ่มปัจจัยเสริม/ลดต่อต้าน เข้าถึงเข้าใจ นักการเมือง สื่อสารมวลชน ทัศนะผู้นำฯลฯ ประชาชนมีสุขภาพ-สุขภาวะดีขึ้น-ชุมชนเข้มแข็ง

15 สสม ในอปท (PHC TAO) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประเด็นเสนอที่1
พัฒนาบทบาทและศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับบทบาท เจ้าภาพ สสม (ธรรมาภิบาลระดับตำบล) เริ่มจากการมีส่วนร่วมบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์(Strategy Map)เป็นเครื่องมือสำหรับการวางแผนและบริหารการเปลี่ยนแปลง D1 แผน ปี มีแผนการดำเนินการ(อ อมร) D2 ทำให้ PHC เป็นที่รู้จัก สากล และ เป็นสัญญลักษ์ของชาติ D3 สร้าง/หา แกนขับเคลื่อนทางยุทธศาสตร์ ตั้งแต่ ชาติ-ท้องถิ่น D4 ส่งเสริมประชาชนแสดงพลัง DEM0NSTRATION กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

16 พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม
ประเด็นเสนอที่2 พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม PRIMARY HEALTH CARE KNOWLEDGE MANAGEMENT PHC -KM K1 พัฒนาบทบาทและศักยภาพด้านการวิจัยและพัฒนา K2 กำหนดทิศทาง แผนแม่บทการจัดการควมรู้ ที่ตอบสนอง ในการมีส่วนร่วม การบริหารจัดการระบบ K3 วิจัยเพื่อการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับสากลถึงท้องถิ่น เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับการวางแผนและบริหารการเปลี่ยนแปลง K4 วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสร้างฐานองค์ความรู้ด้าน สสม ของชาติและโลก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

17 พัฒนาศูนย์ฝึกอบรม PHC –TC
ประเด็นเสนอที่ 3 PHC TRAINING CENTERS T1 พัฒนาบทบาทและศักยภาพองค์กรฝึกอบรม RTC /PTC/ DTC/ TCT โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์(Strategy Map)เป็นเครื่องมือสำหรับการ เรียนรู้ วางแผน บริหารการเปลี่ยนแปลง และ การติดตามประเมินผล T2 PHC COLLABOLATING CENTER FOR TRAINING (international development agenda) T3 TCDA-TCDV กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

18 องค์กรการเมือง/ท้องถิ่น/ภาคประชาชน
ประเด็นเสนอที่ 4 พัฒนาศักยภาพและความสามารองค์กร/เครือข่าย PHC -M PRIORITY7 PRIORITY3 กรมวิชาการ สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัยพัฒนา สธ. สปสช. สสส NGO PRIORITY6 ชมรม องค์กร วิชาชึพ การแพทย์การสาธารณสุข องค์กรกลาง สำนักพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน PRIORITY4 เครือข่าย นักพัฒนา วิชาการ กลุ่ม องค์กรนักบริหาร จัดการชุมชน PRIORITY 1 PRIORITY5 องค์กรการเมือง/ท้องถิ่น/ภาคประชาชน กระทรวงต่างๆ PRIORITY2 สำนัก กอง กลุ่มงาน ใน สบส กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

19 พัฒนา อสมช VHV-CB VHV- CAPACITY(CAPABILITY) BUILDING
ประเด็นเสนอที่5 พัฒนา อสมช VHV-CB VHV- CAPACITY(CAPABILITY) BUILDING ตัวอย่าง ประกาศอย่างชัดเจน เป็นทางการ...... วาระอสมแห่งชาติ”หนึ่งชุมชน-สอง อสม5ช ประกาศวาระชุมชนด้านสุขภาพ แต่ละชุมชน/หมู่บ้านทำด้วยชุมชนเอง ในวัน อสม 20 มีค. ทุกปี อสม พอเพียง เน้นที่ เกียรติ ศักดิ์ศรี และ อุดมการณ์ อสม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

20 ตัวอย่าง”วาระ อสม แห่งชาติ” หนึ่งชุมชน-สอง อสม 5 ช
ตัวอย่าง”วาระ อสม แห่งชาติ” หนึ่งชุมชน-สอง อสม 5 ช ขยายฐาน เกียรติและศักดิ์ศรี อสม ในระดับชุมชน ด้วยการเพิ่ม/เติม/แต่ง ความเชี่ยวชาญ จนเป็น “อสม 5ช “ ช1 ชูธง เป็นผู้นำสร้างสุขภาพ ทำทันที ทำก่อนคนอื่นเสมอ ช2 ช่างชวน ช่างเชื่อมช่างประสาน ร่วมมือกับทุกคนได้ ช3 ชี้ทาง อาสานำชุมชน(มีวิชาแผนที่ยุทธศาสตร์) ช4 ชุมนุม จัดประชาคมขับเคลื่อนสุขภาพในชุมชน ช5 ชำนาญ แผนชุมชน บริหารจัดการแผนแบบมีส่วนร่วม สนับสนุนให้ทุกชุมชน ประกาศวาระชุมชนด้านสุขภาพ โดย แต่ละชุมชน/หมู่บ้านทำด้วยชุมชนเอง ในวัน อสม 20 มีค. ทุกปี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

21 หมู่บ้านจัดการสุขภาพ village self managed
P5 บทบาทปชป มีผู้แสดงหลัก คือ ผู้นำจัดการสุขภาพ แกนนำ /อสม 5ช มีเครื่องมือหลัก แผนที่ยุทธศาสตร์ 5ช P4 กลไก-เครื่องมือ อปท ธรรมาภิบาล หมออนามัยหัวใจชุมชน ระบบสุขภาพใกล้บ้านใกลัใจ ใส่ใจในศักดิ์ศรีมนุษย์ มีทีมงานหลักขับเคลื่อนแผน 5ช P3 พันธมิตร การขับเคลื่อนผลักดัน ระดับชาติ(ก.สธ./ สปสช.สช. ฯลฯ ระดับท้องถิ่น : ส่งผลต่อพื้นที่และชาติ P2 กระบวนการ ศักยภาพองค์กรฝึกอบรม RTC /PTC/ DTC/ TCT สามารถใช้แผนที่ยุทธศาสตร์() ประกาศวาระสุขภาพชุมชนแห่งชาติ-ท้องถิ่น P1 ฐาน องค์กร สสม เข้มแข็งมั่นคง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

22 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรรองรับ PHC-I กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

23 กระบวนระบบการพัฒนาบทบาทร่วมโดยใช้พื้นที่ชุมชนท้องถิ่น
เชิงนโยบาย เชิงประเด็น ข้อมูลเพื่อ การวิเคราะห์ สถานการณ์ ต่างๆ ในชุมชน เวทีสร้าง ข้อเสนอ เชิงนโยบาย /แผนแก่รัฐ อปท./ชุมชน เวที การนำเสนอ สถานการณ์/ ปัญหา การขับเคลื่อนผลักดัน ระดับชาติ(ก.สธ./ สปสช.สช. ฯลฯ ระดับท้องถิ่น : ส่งผลต่อพื้นที่และชาติ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ เชิงพื้นที่ เชิงปฏิบัติการ/กิจกรรม การสร้างเครือข่ายความร่วมมือและการบูรณาการในพื้นที่โดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือ กระบวนการมีส่วนร่วม เรียนรู้ รู้คุณค่า กิจกรรมร่วม เกิดเครือข่ายความสัมพันธ์ เครือข่ายการทำงาน เครือข่ายการสนับสนุน กระบวนการเรียนรู้ เทคนิคและกลไก เกิดความรู้ ไปสู่ปัญญา สร้างความรู้ สู่การใช้ความรู้ สู่การปรับกระบวนการทำงาน กระบวนการสื่อสารสาธารณะ สื่อชุมชน สื่อพื้นบ้าน สื่อสิ่งพิมพิ์ วิทยุ สื่อสารสาธารณะรูปแบบต่างๆ

24 การขับเคลื่อนกระบวนการในพื้นที่ อบต.
การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษที่ 4 การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การขับเคลื่อนกระบวนการในพื้นที่ อบต. การสร้างความรู้/เข้าใจการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์สนับสนุนงาน อบต. (ระยะที่ 1 ระยะสร้างความเข้มแข็ง (Consolidation Phase)) การฝึกอบรมวิทยากรกลาง การพัฒนาพื้นที่ อบต.ระดับนำ การสร้าง Benchmark และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ (ระยะที่ 2 ระยะเปลี่ยนผ่าน (Transition Phase)) การประเมินผล/การขยายผล(ระยะที่ 3 ระยะขยายงาน (Expansion Phase))

25 P2 P2 P3 P3 P2 P1 P1 P1 P3 P3

26 ประเด็นวิเคราะห์ภารกิจขององค์กร สสม ปัจจุบัน
ความต้องการของสังคมประชาชน วิสัยทัศน์ พันธะกิจ หลักองค์กร สสม พันธะที่ 1:สำรวจ-วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ PHC และธรรมชาติองค์กร/ผู้บริหาร/ทีมงาน/ชุมชน วัฒนธรรมองค์กร/ผู้มีส่วนได้เสีย ศักยภาพขององค์กร/เครือข่าย/ชุมชน พันธะที่ 2: สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ติดตามประเมินผล PHC ผลลัพธ์เดิมและมุมมองใหม่ พันธะที่ 3:สร้างเครื่องมือ/เกณฑ์วัดผลตามเครื่องชี้วัดและติดตามกระบวนการ/ผลงาน วัตถุประสงค์โครงการฯแผน PHCปัจจุบัน เป้าหมาย/ ตัวชี้วัดของ โครงการ PHC พันธะที่4:เสนองาน ติดตามประเมินผลและทิศทางใหม่ของแผน/โครงการ PHC กำหนดการ/วิธีการติดตามโครงการ/กิจกรรมและการสื่อสารต่อสังคมประกาศตัวทีมงาน/แผนที่เดินทาง กลั่นกรองนวัตกรรม ยุทธศาสตร์PHCID

27 โครงการ ทศวรรษแห่งนวัตกรรม สสม PHCID PHC-INNOVATION DECADE 2008-2017
จัดมหกรรม PHCID วัน อสม และ สค 51ร่วมกับ WHO สปสช สสส สธ (INTERNATIONAL MEETING) อื่นๆ เช่น ส่งผู้แทนร่วมประชุม PHCID นานาชาติ เปิด WWW. รับฟังความคิดเห็นที่สร้างสรรค์ ขอบคุณ จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนา PHC4D สาธารณสุขมูลฐาน ในทศวรรษที่ 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google