งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์-1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์-1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์-1
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

2

3

4

5 ในช่วงเวลาอันสั้น ชีวิตของข้าพเจ้า ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว จากไม่มีอะไรเลย ไปสู่ความยากจนล้นฟ้า

6 นี่คือ ผลของการพัฒนาแบบโลกาภิวัตน์ที่กำลังคุกคามชีวิตผู้คนทั่วโลกอยู่ในขณะนี้
คำถาม : อะไรคือ โลกาภิวัตน์ ? GLOBALISATION คืออะไร ? เป็นอย่างไร ?

7 Globalization and Marketing Strategy
T. Levitt Famous article : The Globalization of Markets (Harvard Business Review 1983)

8 A powerful force drives the world toward a converging commonality, and that force is technology. It has proletarianised communication, transport, and travel. It has made isolated places and impoverished peoples eager for modernity’s allurements. Almost everyone everywhere wants all the things they have heard about, seen, or experienced via the new technologies.

9 The result is a new commercial reality – the emergence of global markets for standardised consumer products on a previously unimagined scale of magni-tude. Corporations geared to this new reality, benefit from enormous economics of scale in production, distribution, marketing, and management. By translating these benefits into reduced world prices, they can decimate competitors that still live in the disabling grip of old assumptions about how the world works.

10 The globalization of markets is at hand
The globalization of markets is at hand. With that, the multinational commercial world nears its end, and so does the multinational corporation.

11 Strategy Companies should move from multi-domestic (multinational) to global strategy Do not adapt to superficial differences but force suitably standardised products globally “ Offering everyone simultaneously high-quality, more or less standardised products at optimally low prices”

12 Advantages of standardization
Cheaper – economics of scale Gains from experience For many products - human needs and wants are basically similar - If products are new then they set the standard - Many differences are due to historical accident - Companies create market

13 Global marketing Making no distinction between domestic and foreign market opportunities Not developing a product for domestic market and then going offshore Seeks to identify global market opportunities

14 Forces driving globalization
Cost – huge investment needed for new product development - strategic alliances - requires global market to provide sufficient demand Japanese example - from 1960s Japanese products swept the world radios, TVs, cars, specifically developed for foreign markets

15 Transnational strategy
Globalization demands a transnational strategy Transnationals seek- - Global scale efficiency and competitiveness - Local responsiveness and flexibility - cross-market learning ‘Act global, think local’

16 เครื่องกีดขวางการค้าโลก
เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การขยายตัวทางการตลาดของบรรษัทข้ามชาติทั่วโลกถูกกระตุ้นให้ดำเนินการขจัดเครื่องกีดขวางทางการค้า การเคลื่อนไหวอย่างเสรี : สินค้า บริการ ผู้คน และทุน เป็นสิ่งสำคัญ สำหรับเศรษฐกิจโลก สถาบันการเงินการค้าข้ามชาติถูกสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนการค้าเสรีระดับโลก (free global trade)

17 อภิมหาอำนาจของโลกสนับสนุนการก่อตั้ง
- IMF - WORLD BANK - WTO ทุกประเทศ ถูกกระตุ้นให้เข้าเป็นสมาชิก มิฉะนั้น ก็จะถูกตัดขาดจาก “ผลประโยชน์” ของ การค้าเสรีระดับโลก

18 สถาบันข้ามชาติสนับสนุนการขยายตัวของทุนนิยมโลก
IMF ให้เงินกู้แก่ประเทศที่ยากจนที่มีปัญหาการขาดดุล กระตุ้นให้ปฏิรูปเศรษฐกิจตามหลักเศรษฐศาสตร์ IMF : ใช้กลไกตลาด แก้ไขปัญหา WORLD BANK ให้เงินช่วยเหลือเงินกู้ และคำแนะนำในการพัฒนาเศรษฐกิจพร้อมมีเงื่อนไขหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเปิดทางให้การค้าเสรี เลิกช่วยเงินอุดหนุนต่าง ๆ ยกเลิกการควบคุมราคา เปิดเสรีทุกด้านและแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

19 ข้อวิจารณ์บางอย่าง IMF ให้เงินกู้ โดยมีเงื่อนไขว่า ประเทศที่ยากจน ต้องขายทรัพยากรต่างๆ ในราคาที่ต่ำ ต้องลดรายจ่ายของงบประมาณแผ่นดิน WORLD BANK เสนอให้ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจในประเทศที่ยากจน ราคาสินค้าหลายอย่าง ลอยตัวสูงขึ้น ทั้งหมดนี้ นำไปสู่ความยากจนมากขึ้น เป็นหนี้สินมากขึ้น

20 WTO WTO มีหน้าที่กำหนดกฎระเบียบ สำหรับการค้าระหว่างประเทศ
เน้น การค้าเสรี พิทักษ์ผลประโยชน์ของบรรษัทข้ามชาติ การค้ายุติธรรม อยู่ที่ไหน ? Fair Trade สำคัญกว่า Free Trade

21 สถาบันการเงินการค้าข้ามชาติ
มีทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การพัฒนาของตนเอง ที่ให้ประโยชน์แก่บรรษัทข้ามชาติ ความคิดแบบ Neo-Liberalism : ตลาดเสรีสุดขั้ว วิถีการผลิตแบบทุนนิยมโลก โลกทัศน์แบบเทคโนโลยีนิยม การปลุกลัทธิบริโภคนิยม

22 การพัฒนาแบบโลกาภิวัตน์ แปลว่า ความหายนะของโลกที่ยากจน
การพัฒนาแบบโลกาภิวัตน์ แปลว่า ความหายนะของโลกที่ยากจน ระบบเศรษฐกิจของชาติถูกคุกคาม อธิปไตยทางเศรษฐกิจสูญหาย ธุรกิจขนาดใหญ่เข้าครอบงำ วิถีชุมชนท้องถิ่นล่มสลาย

23 การครอบงำหลายระดับ ในยุคโลกาภิวัตน์ กล่าวโดยสรุป กลุ่มประเทศที่ยากจนกำลังถูกครอบงำหลายระดับในเวลาเดียวกัน - บรรษัทข้ามชาติ - สถาบันการเงินการค้าข้ามชาติ - กลุ่มอภิมหาอำนาจทางการเมืองโลก ทุนนิยมโลก ใช้กลไกหลากหลาย เพื่อควบคุมและครอบงำ ยุคนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นยุคของ NEW IMPERIALISM (จากสำนักมาร์กซิสม์ใหม่) บางคนอาจเรียก POST-COLONIALISM (จากสำนัก Postcolonial Theory)

24 ที่ไหนมีการครอบงำ ที่นั่นย่อมมีการต่อสู้
ขบวนการต่อต้าน โลกาภิวัตน์ การแสวงหา หนทางของตนเอง ทฤษฎีการพัฒนาของตนเองบนพื้นฐานวัฒนธรรมท้องถิ่น ANTI - DEVELOPMENT และ POST – DEVELOPMENT (ดูภาคผนวก เศรษฐศาสตร์ทางเลือกและการพัฒนาทางเลือก)

25 ภาคผนวก เศรษฐศาสตร์ทางเลือกกับทฤษฎี การพัฒนาทางเลือก
ก. เศรษฐศาสตร์ทางเลือก (Alternative Economics) - ขอให้ดูเอกสารประกอบ

26 (Theories of Alternative Development)
ข. ทฤษฎีการพัฒนาทางเลือก (Theories of Alternative Development) การพัฒนากระแสหลัก (mainstream development) - ทฤษฎีการพัฒนากระแสหลักของทุนนิยม - ทฤษฎีการพัฒนากระแสหลักของสังคมนิยม การพัฒนากระแสหลัก : แนวปฏิรูป - ความต้องการพื้นฐาน - การพัฒนามนุษย์ - การพัฒนาสังคมและพัฒนาชนบท

27 การพัฒนาแบบยั่งยืน (sustainable development)
- แนวกระแสหลัก - แนวราดิคัล การพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) - ประชาชนเป็นศูนย์กลาง - คนยากจนต้องมาก่อน - การพัฒนาแนวนิเวศ

28 การพัฒนาทางเลือก : new traditional economy
- พุทธ - ขงจื๊อ - คานธี Post – Development - ต่อต้านวาทกรรมการพัฒนา - สำนัก Post-Colonial Theory - Feminism and Ecofeminism Beyond Post-Development

29 การพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์-2
ดร. ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

30

31

32

33 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการพัฒนา Political Economy of Development
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ดร.

34 บทนำ ข้อแตกต่าง ระหว่าง Development Economics
กับ Political Economy of Development (PED) หลักการสำคัญของวิธีวิทยาเศรษฐศาสตร์การเมือง PED เน้นความเชื่อมโยง ระบบเศรษฐกิจกับระบบการเมือง ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสังคม

35 ความหมายของการพัฒนา การพัฒนา (Development) แตกต่างจากการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ (Growth)  เชิงปริมาณ v. เชิงคุณภาพ  การพัฒนา คลอบคลุมหลายมิติ

36 การพัฒนาในมิติทางประวัติศาสตร์
 ในอดีตการพัฒนา หมายถึง การปรับปรุงสังคมและการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน  กระบวนการทางประวัติศาสตร์ 2 ครั้ง : - การปรับเปลี่ยนจากเกษตรกรรมไปสู่อุตสาหกรรมในยุโรป (ศตวรรษที่ 18 / 19) และ - หลังสงครามโลก II มีการ “พัฒนา” ประเทศที่ถูกเรียกว่า “ด้อยพัฒนา” (1945 – ปัจจุบัน)

37 แนวคิดการพัฒนายุคเริ่มต้น
 การคุกคามของ “ลัทธิคอมมิวนิสต์” - ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ - การปกป้องโลกเสรี - การเผยแพร่แนวคิด “การพัฒนา” ความเชื่อ : การพัฒนามีบทบาทสำคัญในการต่อต้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์

38 หลักการ และแนวคิดทฤษฎี
 การพัฒนา เป็นกระบวนการธรรมชาติ ตามกระแสธารประวัติศาสตร์  การพัฒนา เป็นผลผลิตของการวางแผน  รัฐ มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลง  ในภาคปฏิบัติ การพัฒนาเป็นเรื่องฝีมือของมนุษย์ ภายใต้ขีดจำกัดทางประวัติศาสตร์

39 แนวคิดการพัฒนา ของเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิค
 สำนักคลาสสิค วางรากฐาน สร้างทฤษฎีการพัฒนา อย่างเป็นระบบ : - A. SMITH ความมั่งคั่งของประชาชาติ บนหลักการของ “มือที่มองไม่เห็น”  ตอนนั้น อังกฤษพัฒนานำหน้า ประเทศอื่น ๆ ในยุโรป  ปัญหา ทำอย่างไร จึงจะไล่ทันอังกฤษได้ ?

40 (ต่อ)  F. LIST นักเศรษฐศาสตร์เยอรมัน : รัฐ ต้องมีบทบาทสำคัญในการเร่งการพัฒนา  LIST 1789 – บิดาแห่งทฤษฎีการพัฒนา - รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อันเกิดจากการพัฒนา

41 ทฤษฎีการพัฒนาแนวมาร์กซิสต์
 K. MARX ทำการวิพากษ์ทฤษฎีของสำนักคลาสสิค  MARX สร้างพาราไดม์ใหม่ในการวิเคราะห์ ระบบทุนนิยม : บทวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมือง  ทุนนิยม เต็มไปด้วยความขัดแย้งหลายประการ มีวิกฤตการณ์ยืดเยื้อ จนกระทั่งต้องล่มสลาย (ดู : ปรัชญา และวิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร์การเมือง)

42 ทฤษฎีการพัฒนาของเคนส์
 J.M. KEYNES กล่าวถึง ความไม่มีเสถียรภาพของทุนนิยม ระบบจะเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำเป็นช่วง ๆ จนอาจกลายเป็นวิกฤติทั้งระบบ ดังเช่นในยุค Great Depression  รัฐ มีบทบาทสำคัญในการเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจ

43 ทฤษฎีการพัฒนาของชุมปีเตอร์
J.A. SCHUMPETER เป็นรุ่นแรก ๆ ที่เสนอ “ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ” ในยุคสมัยใหม่ ในระบบทุนนิยม จะเกิดการทำลายล้างสิ่งเก่า ๆ อยู่ตลอดเวลา สิ่งใหม่ ๆ จะเข้ามาแทนที่ ทุนนิยมพัฒนาขึ้นมาได้เพราะมี “การทำลายล้างแบบสร้างสรรค์”  ชุมปีเตอร์ ได้ชื่อว่า เป็นผู้วางรากฐาน “เศรษฐศาสตร์แนววิวัฒนาการ” (ดู : เศรษฐศาสตร์สถาบัน)

44 บทวิเคราะห์เปรียบเทียบ
 ขอให้เปรียบเทียบการวิเคราะห์ พัฒนาการ ของระบบทุนนิยม โดยนักเศรษฐศาสตร์ 4 คน : SMITH MARX KEYNES SCHUMPETER

45

46 ทฤษฎีการพัฒนาสมัยใหม่
 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดมีสาขาวิชาใหม่ ชื่อ Development Economics มีการวิเคราะห์ “ยุทธศาสตร์การพัฒนา” (development strategies) ซึ่งสำนักอื่น ๆ ก่อนหน้านี้ไม่เคยกล่าวถึงเลย  ยุทธศาสตร์การพัฒนา ส่วนใหญ่เป็นแนวคิดของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ซึ่งเชื่อว่า การพัฒนา ควรจะเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง โดยมีรัฐ เป็นผู้วางแผนและจัดการดูแลควบคุม ผสมผสานกับกลไกตลาด นักเศรษฐศาสตร์แต่ละคน ก็มีแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยสังเคราะห์จากประสบการณ์ของประเทศทุนนิยม

47 ทฤษฎีการพัฒนาของสังคมนิยม
ในค่ายสังคมนิยม และในหมู่นักวิชาการแนวมาร์กซิสต์ มีการเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาเช่นกัน ประสบการณ์ได้มาจาก การพัฒนาในกลุ่มประเทศสังคมนิยม เช่น สหภาพ โซเวียต และยุโรปตะวันออก โดยผสมผสานกับปรัชญาและแนวคิดของมาร์กซ์ ในการพัฒนาแบบสังคมนิยม รัฐมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์กลางของการวางแผน และการจัดสรรทรัพยากรแบบเบ็ดเสร็จ (ใช้กลไกรัฐ ไม่ใช้ กลไกตลาดเลย)

48 การพัฒนา ตามแนว Dependency Theory
 นักทฤษฎีแนวมาร์กซิสต์สมัยใหม่ เช่น P. BARAN A.G. FRANK , I. WALLERSTEIN ได้นำเอามิติของการครอบงำจากภายนอกมาบรรจุในแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา มีการกล่าวถึง “การพึ่งพา” dependency แบบเบ็ดเสร็จ จนไม่สามารถหลุดออกมาจากการครอบงำของทุนนิยมโลกได้ ประเทศที่ยากจน จึงต้องยากจนต่อไปยาวนาน ทฤษฎีแนวนี้ อาจเรียกชื่อว่า “radical underdevelopment theory”

49 เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องการพัฒนา
ปัจจุบัน มีการนำเอาเรื่องการเมือง ระบบและปัจจัย ทางการเมืองมาช่วยอธิบายปัญหาการพัฒนามากขึ้น แต่มีแนวคิดหลากหลาย มีหลายสาขา หลายสำนัก ที่วิเคราะห์เศรษฐกิจการเมือง กับ การพัฒนา ลักษณะเด่น : ขยายฐานความรู้บนวิธีวิทยาของสหวิทยาการ

50 ทฤษฎีการพัฒนาทางเลือก
 แนวนี้ วิเคราะห์ว่า ทฤษฎีกระแสหลัก เป็นต้นตอสำคัญของปัญหาการพัฒนา : ยิ่งพัฒนา ยิ่งยากจน เพราะแนวคิดทฤษฎีและยุทธศาสตร์กระแสหลักเป็นต้นเหตุ  มีการวิพากษ์ “วาทกรรมการพัฒนา” ของชนชั้นผู้มีอำนาจ  เสนอทางเลือกใหม่ “ต่อต้านวาทกรรมกระแสหลัก”

51 วิพากษ์ทฤษฎีการพัฒนา (ผสมผสานกับความคิดยูโธเปีย)
(ต่อ) การพัฒนาทางเลือก วิพากษ์ทฤษฎีการพัฒนา กระแสหลักทั้งหมด วิพากษ์อุดมการณ์ทุนนิยม (ผสมผสานกับความคิดยูโธเปีย) วิเคราะห์พัฒนาการของแนวทางที่ผ่านมา (ดู : ปรัชญาและวิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร์ทางเลือก)

52 เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ
ท่ามกลางการขยายตัวของกระบวนการโลกาภิวัตน์ จึงเกิดปัญหาใหม่ : การพัฒนาเกี่ยวข้องกับโลกาภิวัตน์ อย่างไร ? สาขาวิชาใหม่ : international political economy แนวคิดนี้เตือนว่า เราจะแก้ไขปัญหาการพัฒนาได้อย่างน่าพอใจนั้น จะต้องมองไปที่ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเรากับทุนนิยมโลก  IPE วิเคราะห์เศรษฐกิจ / การเมืองระดับโลก

53 (ต่อ) ประเทศที่กำลังพัฒนากำลังถูกทุนนิยมโลกเข้ามาครอบงำมากขึ้น
ดังนั้น ทฤษฎียุทธศาสตร์การพัฒนา จะมองแค่ระดับชาติไม่ได้ “ตัวละครที่สำคัญ” ไม่ได้อยู่บนเวทีระดับชาติแล้ว แต่อยู่บนเวที ระดับโลก ซึ่งมีอิทธิพลในการควบคุมนโยบายเศรษฐกิจของโลก และของประเทศต่าง ๆ (ที่กำลังพัฒนา) (ดู : การพัฒนาแนวโลกาภิวัฒน์)

54 ภาคผนวก 1 ตัวอย่างของแนวคิดฝ่ายซ้าย :
- Robinson Rojas : The political economy of development ( NOV 2003)

55 ภาคผนวก 2 ตัวอย่างของแนวคิดการพัฒนากระแสหลัก - World Development Report 2006 : Equity and Development ( World Bank )

56 - R. CHAMBERS , Ideas for Development :
ภาคผนวก 3 ตัวอย่างของแนวคิดการพัฒนาทางเลือก - R. CHAMBERS , Ideas for Development : reflecting forwards ( IDS Working Paper 238, Nov. 2004)

57 ภาคผนวก 4 คำถาม : - ทำอย่างไร จึงจะแก้ไขปัญหาความยากจนที่ยืดเยื้อยาวนาน ให้หมดไป (chronic poverty หรือ poverty trap ) ? คำตอบ 3 แนว : - แนวคิดกระแสหลัก - แนวคิดทางเลือก - แนวคิดฝ่ายซ้าย (ดู แผนภูมิ)

58 สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ เข้าถึงการบริการสังคม เข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ
ก. แนวคิดกระแสหลัก สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ ลดความยากจน เข้าถึงการบริการสังคม และการศึกษา เข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ

59 ข. แนวคิดฝ่ายซ้าย รื้อถอนระบบ ทุนนิยม
ผู้ยากไร้ทุกวงการดำเนินยุทธศาสตร์ เพื่อปลดปล่อยสังคม รื้อถอนระบบ ทุนนิยม สร้างความรู้แนวใหม่ เพื่อยกระดับจิตสำนึกและ สร้างพลังอำนาจของผู้ยากไร้ วิพากษ์ระบบและทฤษฎีที่ดำรงอยู่ ที่เป็นต้นตอของความยากไร้

60 คนจนที่อยู่ในบ่วงของ โครงสร้างสังคมที่มีความ ไม่เท่าเทียมกันยาวนาน
ค. แนวคิดทางเลือก คนจนที่อยู่ในบ่วงของ ความยากจนยาวนาน ไร้เสียงไร้สิทธิ ทางการเมือง โครงสร้างสังคมที่มีความ ไม่เท่าเทียมกันยาวนาน โลกชีวิต/การดำรงชีพ ที่วิกฤตยาวนาน

61 แนวคิด Post-Development “การพัฒนา แปลว่า ความหายนะ”
ปฏิเสธแนวคิดกระแสหลักและแนวคิดฝ่ายซ้าย แนวคิดทางเลือก ยังหลงอยู่ในระบบคิด “การพัฒนา” การพัฒนาที่แท้จริง คือ การไม่พัฒนา

62 ตัวอย่างแนวคิดแบบ Post-Development
J.K. GIBSON-GRAHAM , Surplus Possibilities : Re-Presenting Development and Post-Development, (University of California Riverside, April 2004)

63

64 END


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์-1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google