Introduction to MRV รศ.ดร.อภิชิต เทอดโยธิน
MRV คือ อะไร Measurement (กระบวนการตรวจวัด) : เป็นการหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถตรวจวัดได้ทั้งทางตรงโดยใช้เครื่องมือที่ได้มาตรฐานและทางอ้อมโดยการคำนวณตามหลักทฤษฎี M R V Reporting (การรายงาน) : เป็นการนำเสนอรายละเอียดของโครงการ วิธีการดำเนินงานและผลจากการตรวจวัดให้อยู่ในรูปแบบที่ถูกต้องสมบูรณ์และสามารถเปรียบเทียบกันได้ Verification (การทวนสอบ) : เพื่อให้เกิดความโปร่งใสของการตรวจวัดและการรายงาน เริ่มกล่าวถึงในการประชุมรัฐภาคี (COP13) MRV มีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับอาคาร/ ภาคส่วน /นโยบาย /ประเทศ
เปรียบเทียบได้ Comparable MRV สำคัญอย่างไร เป็นกติกาใหม่ในด้านการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ MRV เป็นเครื่องมือที่ใช้บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกภายใต้กรอบ UNFCC ให้มีคุณภาพ เชื่อถือได้ตามหลัก TACCC MRV ตามหลัก TACCC โปร่งใส Transparent ถูกต้อง Accurate สอดคล้อง Consistent สมบูรณ์ Complete เปรียบเทียบได้ Comparable ทำให้การวัดการปล่อย หรือ การลดก๊าซเรือนกระจก น่าเชื่อถือ ตรวจสอบได้
“NAMA” คืออะไร Nationally Appropriate Mitigation Actions. กิจกรรมหรือแผนระดับชาติที่จะลดก๊าซเรือนกระจก เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ระหว่างประเทศ ในการลดก๊าซเรือนกระจก หลังปี 2012 แบ่งเป็น Domestic NAMAs และ Supported NAMAs Domestic NAMAs…………..> ประเทศนั้นๆ กำหนดMRV Supported NAMAs..………..> Doner กำหนดMRV
ระบบ MRV
GHG Emission From Thailand Building sector
1 Sector Overview บัญชีก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย รายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในปี 2000 เท่ากับ 229 ล้านตัน และจากภาคพลังงาน ร้อยละ 65 Greenhouse gas emission in CO2 equivalent by sources in 2000
1 Sector Overview Note: for commercial buildings include only large building Share of Final Energy by sector 2013
Greenhouse gas emission from residential sector 2 Energy Use in Residential and Commercial Sectors 2.2 Residential Sector Greenhouse gas emission from residential sector
2 Energy Use in Residential and Commercial Sectors 2010 2030 (BAU) 2030(EE) Electricity and fuel consumptions and GHG emission from commercial building
Energy Efficiency Scenario 3 Mitigation potential สมรรถนะของอาคารในกรณีปกติ และกรณีมีมาตรการอนุรักษ์พลังงาน Building BAU Scenario Energy Efficiency Scenario OTTV LPD EPD COP Energy Office 61.4 22.7 45.0 2.21 219.2 20 6 25 4.42 81.7 Hotel 33.0 16.2 35.0 271.2 10 5 30 116.4 Hospital 35.5 13.7 12.0 244.1 114.6 Department Store 43.6 19.6 26.2 308.3 15 8 146.4 School 61.1 14.6 25.0 102.2 58.0 Condominium 40.0 256.3 132.3 Hyper Market 370.0 160.6 Other 57.4 20.0 182.1 66.2
3 Mitigation potential การใช้พลังงานของภาคอาคารในกรณีปกติ และกรณีที่มีการอนุรักษ์พลังงาน Buildings BAU scenario Energy efficiency scenario Electricity (GWh) CO2 emission kTon, C MEA PEA Total Office 8,020 3,191 11,211 1,369 2,989 1,189 4,178 510 Hotel 660 2,605 3,265 399 283 1,118 1,401 171 Hospital 1,392 538 1,931 236 654 253 907 111 Department store 804 12,142 12,947 1,580 382 5,768 6,150 751 School 1,021 1,142 2,163 264 580 648 1,228 150 Condominium 995 7,471 8,466 1,033 514 3,858 4,372 534 Hyper market 4,942 2,425 7,366 899 2,145 1,052 3,197 390 Other 860 1,497 2,356 288 313 545 857 105 All buildings 18,693 31,011 49,704 6,068 7,858 14,430 22,289 2,721 Fuel used LPG 831 656 702 554 Fuel oil 118 87 99 73 6,810 3,348
3 Mitigation potential ศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคอาคาร