ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงปลานิลแปลงเพศเพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืน งบประมาณ 50 ลบ.(ปี 58-61) ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โครงการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจปลานิลแปลงเพศเพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืน กรอบการวิจัย และพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่ม และสร้างคุณค่า การบริหารจัดการสินค้า Logistic การพัฒนาระบบตลาด การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันการเกษตรกร การผลิตลูกพันธุ์ปลาคุณภาพเพื่อสนับสนุน ผู้เลี้ยงในกลุ่มจังหวัด (AC/58 : กลุ่มจังหวัด) การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังและ บ่อดิน ตามมาตรฐาน GAP (AC : กลุ่มจังหวัด) ส่งเสริมการตลาด เพิ่มรายได้ อบรมการเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อลดความเสียหายในการเก็บเกี่ยวและขนส่ง (AC/61 : กลุ่มจังหวัด) (Logistic) การอบรมให้ความรู้ในการเพาะพันธุ์ตามมาตรฐาน GAP (AC : กลุ่มจังหวัด) การอบรมให้ความรู้ในการผลิตอาหารสัตว์น้ำใช้เอง (AC/59 : กลุ่มจังหวัด) ลดต้นทุน ส่งเสริมความร่วมมือกับสถาบันเพื่ออบรมผู้ประกอบการ (F : กรมประมง) การอบรมเทคนิคการขุดลูกปลาให้มีขนาดเกิน 5 เซนติเมตร เพื่อร่นระยะเวลาเลี้ยง ตรวจรับรองฟาร์ม/ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน GAP (F : กรมประมง) ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร ผู้ผลิต และ ผู้เลี้ยงปลาในกระชัง/บ่อดิน (F : กรมประมง) ตรวจรับรองโรงเพาะฟักตามมาตรฐาน GAP (F : กรมประมง) เป้าหมาย AC:58-61 50,000,000 บาท เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลแปลงเพศเพิ่มขึ้นจาก 260 รายในปี 2556 เป็น 450 ราย ในปี 2561 ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 2,700 ตัน/ในปี 2556 เป็น 4,500 ตัน/ตั้งแต่ปี 2558 จนถึง 2561 สร้างรายได้จากปีละ 135 ลบ.เป็นปีละ 225 ลบ.รวมตลอดโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากฐานปี 2556 900 ลบ. ปี 58 -61 2558 2559 2560 2561
Value Chain โครงการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงปลานิลแปลงเพศเพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ปี 2558 - 2561 เกษตรกรผู้ค้าปัจจัยการผลิตผู้เพาะและอนุบาลลูกปลา กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลาในกระชังและบ่อดิน ผู้ค้าปัจจัยการผลิต ผู้รับซื้อรายย่อย ผู้ขนส่ง ผู้รับซื้อ ผู้บริโภค ทักษะและการบริหารจัดการ พัฒนาสู่ GAP รวมกลุ่มธุรกิจ พัฒนาความรู้เพิ่มมูลค่า เทคโนฯ หลังเก็บเกี่ยว Logistic เชื่อมโยงตลาด เกิดฟาร์ม GAP ยกระดับการบริโภคสินค้า GAP นัดพบผู้ผลิต/ตลาด แบนด์กลุ่มจังหวัด ส่งเสริมอาชีพ แหล่งงบประมาณ ปีงบประมาณ ๒๕๕9 ๒๕60 ๒๕๖1 เป้าหมาย 1. เกษตรกรผู้เพาะและขุนพันธุ์ปลานิลแปลงเพศจังหวัดสกลนคร 2. เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำในกระชังและบ่อดินจังหวัดสกลนคร นครพนม และมุกดาหาร การดำเนินการ 1. กิจกรรมผลิตลูกพันธุ์ปลานิลแปลงเพศGAP 3 นิ้ว รุ่นละ 1 ล้านตัว ผลิต 3 รุ่น 3 ล้านตัว โดยสนับสนุนเกษตรกร 3 ราย และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดในพื้นที่ (ลูกปลาสนับสนุนให้เกษตรกรขายได้มาตรฐาน GAP 2. กิจกรรมเลี้ยงปลาในกระชังและบ่อดิน ระบบ GAP สนับสนุนเกษตรกรจากเดิม 260 รายเป็น 400 รายๆ ละ 4 กระชัง สนับสนุนเฉพาะอาหารร้อยละ 25 ลูกปลาร้อยละ 100 เกษตรกรสมทบการสร้างกระชังและอาหารร้อยละ 75 (เฉพาะในปี 58 และ 59 ปี 60-61 ไม่สนับสนุนปัจจัยการผลิต) สนับสนุนกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและระบบ Logistic เพื่อลดอัตราการสูญเสียจากการตายและสูญเสียน้ำหนักระหว่างขนส่ง สนับสนุนเทคโนโลยีหลังเก็บเกี่ยวระบบ GAP เพื่อเตรียมความพร้อมการเป็นผู้นำการผลิตปลานิล GAP ของ AEC 27 27 27 งบกลุ่มจังหวัด
ปีงบประมาณ ๒๕๕9 ๒๕60 ๒๕๖1 แหล่งงบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ งบกรมประมง 1. ผลผลิต ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 2,700 ตัน/ปี เพิ่มเป็น 4,500 ตัน/ปี (ตั้งแต่ปี 2557 – 2561) มูลค่า เพิ่มจาก 135 ล้านบาท/ปี เพิ่มเป็น 225 ล้านบาท/ปี ( GPP เพิ่มขึ้นประมาณ 1 %) 2. ผลลัพธ์ เกิดวงจรธุรกิจปลานิลเชื่อมโยงในกลุ่มจังหวัดที่สมบูรณ์และยั่งยืนได้ 1. ผู้ผลิตพันธุ์ปลา GAP ในจังหวัดสกลนครผลิตปลาหมุนเวียนในกลุ่มจังหวัด 2. ผู้เลี้ยงปลานิลในกระชังและบ่อดินในจังหวัดมุกดาหาร นครพนมและสกลนครบางส่วน 3. ผู้รับซื้อผลิผลิตได้แก่ ภาคเอกชน 4. เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิตอาหารสัตว์น้ำราคาถูกในกลุ่มจังหวัด 5. เกษตรกรพึ่งพาตนเองในการผลิตทำให้สามารถลดต้นทุนการผลิตและมีอำนาจต่อรองด้านการตลาดกับภาคเอกชน ผู้รับซื้อผลผลิต 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 รวม 50,000,000 30,000,000 30,000,000 30,000,000