ประชุมคณะกรรมการ SP สาขาแม่และเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 8

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
รายงานผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
Service plan สาขาทารกแรกเกิดจังหวัดเพชรบูรณ์
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะกรรมการ SP สาขาแม่และเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 8 20 พฤษภาคม 2558 โดย นพ.สุพจน์ แพรนิมิตร

วาระการประชุม วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ สรุปผลการใช้งบประมาณของSP แม่และเด็ก ปี 2558 ได้รับโอนมาจากเขต 500,000 บาทใช้งบประมาณไปทั้งหมดประมาณ 310,000 บาท คงเหลือ 190,000 บาท วาระที่ 2 ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ผลการปฏิบัติกิจกรรมตามแผนของแต่ละจังหวัด ผลงานตาม KPI ของแต่ละจังหวัด วาระที่ 3 อื่นๆ ปรึกษาเรื่องการจัดทำ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน SP แม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 8

โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน SP แม่และเด็กเขตสุขภาพที่8 กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการงานแม่และเด็กเขตและคณะทำงานเขตสุขภาพที่ 8 จำนวน 80 คน สถานที่ จ.หนองคาย ระยะเวลา 2 วัน ช่วงเดือน สิงหาคม 2558 กิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ดำเนินงานในแต่ละจังหวัด วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาปี 2559 กิจกรรมสันทนาการ

สรุปผลการดำเนินงาน Service Plan สาขาแม่และเด็กปฐมวัย 1 ตุลาคม2557 – 31 มีนาคม 2558

แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 1.พัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ 1.พัฒนาคลินิกฝากครรภ์/คลินิกพัฒนาการเด็กคุณภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิและพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2.พัฒนาศักยภาพบริการคลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป 3.ขับเคลื่อนพัฒนางานMCH ในหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านDHSและภาคีเครือข่ายต่างๆ 1.1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (84 วัน) ≥ร้อยละ70 1.2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ≥ร้อยละ70 1.3 ร้อยละ รพ.สต. ให้บริการ ANC คุณภาพ ≥ร้อยละ70 1.4 หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ภายในอายุครรภ์ไม่เกิน12สัปดาห์ (84วัน) และANC 5ครั้งคุณภาพ ≥ร้อยละ50 1.5 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนัก < 2,500กรัม≤ร้อยละ7 /ลดลงจากปีก่อนร้อยละ0.5 1.6 อัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวน้อย 6 เดือน ≥ร้อยละ 50 2.1 รพ.สต.ANC,WCCคุณภาพ≥ร้อยละ70 2.2 เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย≥ร้อยละ85 และคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มพัฒนาการล่าช้า≥ร้อยละ10 2.3.เด็กอายุ18และ30เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการร้อยละ100 2.4 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ≥ร้อยละ60 1.โครงการอบรมแพทย์ทั่วไป/พยาบาลงานฝากครรภ์ ในการดูแลครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน 2.โครงการเพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลระดับSให้บริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด( PND) 3.โครงการอบรมพัฒนาทีมระดับจังหวัดประเมินรพสต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 4.โครงการประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมิน รพ.สต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพแก่ผู้ออกประเมิน 5.โครงการประเมินรพสต. ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 6.โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่าน DHS

แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) (ต่อ) ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 2.พัฒนาความรู้และทักษะบุคลากร 1.พัฒนาทักษะภาคปฏิบัติแพทย์ทั่วไป/พยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องคลอดตรงประเด็นปัญหา 3.1 อัตรามารดาตายจากการตั้งครรภ์และการคลอด ≤15 ต่อ100,000 ของการเกิดมีชีพทั้งหมด 3.2 อัตราตายปริกำเนิด≤9ต่อ1,000 การเกิดทั้งหมด 3.3 BA ≤ 25ต่อ1,000 การเกิดมีชีพทั้งหมด 3.4 ทารกแรกเกิดน้ำหนัก. < 2,500กรัม<ร้อยละ7 /ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ0.5 1.โครงการอบรมภาคปฏิบัติการคลอดติดไหล่/การคลอดท่าก้น/Active management 3rd stage labor /NCPR 2.การประชุมจัดทำ CPGการดูแลภาวะแทรกซ้อน/ปัญหาในห้องคลอด 3.การประชุมนำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 4. โครงการพัฒนาทีมระดับจังหวัดกำหนดเกณฑ์/ประเมินผลการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอด 5. โครงการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ. 6. โครงการประเมินผลการซ้อมแผน ภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ.โดยทีมระดับจังหวัด 7. โครงการหมุนเวียนพยาบาลรพช. ระดับFปฏิบัติงานที่ห้องคลอด รพท. /รพศ. ≥10วัน

แผนกลยุทธ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี)(ต่อ) ตัวชี้วัด โครงการ/แผนงาน 3.สร้างสุขภาวะอนามัยเจริญพันธุ์หญิงกลุ่มวัย15-19ปี 1. ขับเคลื่อนพัฒนางานMCH ในหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านDHSและภาคีเครือข่ายต่างๆ 4.1 อัตราการคลอด.หญิงกลุ่มวัย15-19ปี≤50ต่อ1,000ของหญิงกลุ่มวัย15-19ปี 4.2 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำของหญิงกลุ่มวัย15-19 ปี≤ร้อยละ10 1. โครงการใส่ห่วงอนามัย/ฝังยาคุมกำเนิดหญิงกลุ่มวัย15-19ปี หลังคลอด/หลังแท้ง 2. โครงการพัฒนา Youth Friendly Health Service ของ CUP 3. โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่านDHS 4. มอบของขวัญปีใหม่2558ให้ประชาชน 5.1 อัตราเด็กอายุ2.5-7ปีได้รับการฉีด MR Vaccine ≥ร้อยละ95 5.2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามินที่มีสารไอโอดีนตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์และต่อเนื่องหลังคลอดนาน6เดือนร้อยละ100 1. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน 2. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อแก้ปัญหาการขาดไอโอดีน

สรุปแผนดำเนินงาน มี Action plan 17 โครงการ ดำเนินการแล้ว 13 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 76.47

โครงการที่ดำเนินการ

ผลการดำเนินงานด้านกระบวนการ โครงการ ผลการดำเนินงาน 1. โครงการประชุมทีมระดับจังหวัดชี้แจงเกณฑ์ประเมิน รพ.สต. ANC/ WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพแก่ผู้รับผิดชอบทุกรพช. รพ.สกลนคร 2 มี.ค.58 มีเอกสารเกณฑ์การประเมินส่งให้ รพ.สต. 2.โครงการพัฒนาทีมระดับจังหวัด กำหนดเกณฑ์ประเมินการซ้อมแผนภาคปฏิบัติ การดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอด - ได้เกณฑ์ประเมินภาวะวิกฤตLR จำนวน 4 เรื่อง PPH / PIH / fetal distress / NCPR ได้เครื่องมือ(tool: check list)ประเมินการซ้อมฯ

โครงการ ผลการดำเนินงาน 3.โครงการอบรมภาคปฏิบัติการคลอดติดไหล่/ การคลอดท่าก้น/ Active management 3rd stage of labor/ NCPR รพ.สกนคร(19 ก.พ.58) รพ.อุดรธานี (23,24 มี.ค.58) ร้อยละของรพ.ที่ฝึกภาคปฏิบัติต่อ 4.โครงการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤตในห้องคลอดทุกรพ. ร้อยละของรพ.ที่ซ้อมแผนฯ

โครงการ ผลการดำเนินงาน 5.โครงการหมุนเวียนพยาบาล รพช. ระดับ F ปฏิบัติงานที่ห้องคลอด รพท./รพศ. >10 วัน 6.โครงการใส่ห่วงอนามัย ฝังยาคุมกำเนิดหญิงกลุ่มวัย 15-19 ปี หลังคลอด/หลังแท้ง

โครงการ ผลการดำเนินงาน 7. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อแก้ปัญหาการขาดไอโอดีน (21/43แฟ้ม) หญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามินที่มีสารไอโอดีนตั้งแต่เริ่มฝากครรภ์และต่อเนื่องหลังคลอดนาน6เดือน (เป้าหมาย ร้อยละ100)

โครงการ ผลการดำเนินงาน 8. โครงการอบรมแพทย์ทั่วไป/พยาบาลงานฝากครรภ์ ในการดูแลครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน ดำเนินการแล้วเสร็จ 9. การประชุมจัดทำ CPGการดูแลภาวะแทรกซ้อน/ปัญหาในห้องคลอด 10.โครงการอบรมพัฒนาทีมระดับจังหวัดประเมินรพสต.ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ดำเนินการโดยศูนย์อนามัยเขต 6 11.โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ How to/Good practice เพื่อพัฒนาการจัดการงานMCHผ่าน DHS 12.โครงการเพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลระดับSให้บริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด( PND) จ.หนองคาย ดำเนินการ ต.ค. 2557 จ.เลย ดำเนินการ ม.ค. 2558 13. โครงการพัฒนา Youth Friendly Health Service ของ CUP

โครงการที่ยังไม่ดำเนินการ โครงการประเมินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ANC/WCC/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ โครงการทีมระดับจังหวัดออกประเมินผลการซ้อมแผนภาคปฏิบัติการดูแลรักษาภาวะวิกฤติในห้องคลอด โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน โครงการประชุมนำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน กำลังจะดำเนินการ ระยะเวลา 1 วัน วันที่ 8 มิถุนายน 2558 เวลา 8.30 -16.00 น. สถานที่ ห้องฟ้าหลวง 1 โรงแรมนภาลัย จ. อุดรธานี กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล จำนวน 200 คน พิธีการ นพ.สสจ.สกลนคร เป็นประธานกล่าวเปิดงาน กิจกรรม นำเสนอรายงานผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อน กรณีศึกษาผู้ป่วย PIH โดย ทีมรพศ.อุดรธานี กรณีศึกษาผู้ป่วย PPH และคลอดติดไหล่ โดย ทีมรพศ.สกลนคร และรพ.กุสุมาลย์ ตัวแทนแต่ละจังหวัดอีก 5 จังหวัดนำเสนอประสบการณ์ผู้ป่วยคลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจังหวัดละ 1 ราย ทีมวิทยากร 1.นพ.สุพจน์ แพรนิมิตร 2. นายแพทย์ธวัชชัย จิรกุลสมโชค 3.แพทย์หญิงศรีสุดา ทรงธรรมวัฒน์

ตัวชี้วัด ผลลัพธ์การดำเนินงาน ตัวชี้วัด ผลลัพธ์การดำเนินงาน

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (เป้าหมาย ≥ร้อยละ 50)

อัตรามารดาตาย ( เป้าหมาย≤ 15 : การเกิดมีชีพแสนคน)

อัตราทารกตายปริกำเนิด ( เป้าหมาย≤9ต่อ1,000 การเกิดทั้งหมด)

ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย เป้าหมาย > ร้อยละ 85 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เป้าหมาย < ร้อยละ 7

อัตราของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15-19ปี เป้าหมาย < ร้อยละ 10 อัตราขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด เป้าหมาย < 25:1,000 การเกิดมีชีพ

อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี เป้าหมาย < 50:ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ เป้าหมาย > ร้อยละ 70

อัตราหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (ที่คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ)อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (84วัน)และ ANC ครบ 5 ครั้ง เป้าหมาย > ร้อยละ 50 ร้อยละรพ.สตให้บริการ ANC คุณภาพ เป้าหมาย > ร้อยละ 70

ร้อยละการให้บริการ WCC มีคุณภาพ เป้าหมาย > ร้อยละ 70

คำนิยามตัวชี้วัด Leading Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (84 วัน) A= จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ (นับที่ ANC) B=จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการ (นับที่ANC)

1.อัตรามารดาตาย Lagging Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100,000

Lagging Indicator สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000 2. อัตราทารกตายปริกำเนิด A=จำนวนทารกที่คลอดตายในครรภ์(อายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 28 สัปดาห์) บวกจำนวนทารกที่คลอดออกมาและตายใน 7 วัน B=จํานวนทารกเกิดทั้งหมดในห้วงเวลาเดียวกัน

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย A = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด B = จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 2. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม A = จำนวนทารกเกิดมีชีพที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม ในช่วงเวลาที่กำหนด B = จำนวนทารกเกิดมีชีพที่ได้รับการชั่งน้ำหนักทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000 3. อัตราการขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด A = จํานวนทารกแรกเกิด Apgar score ที่ 1 นาที น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 หรือข้อมูลวินิจฉัยโรค ICD 10 TM รหัส P210, P211, P219 B = จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 1000 4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี A = จํานวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 15-19 ปี B = จํานวนหญิงอายุ 15-19 ปีทั้งหมด (จากจํานวนประชากรกลางปี 2557)

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 5. อัตราของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี A = จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปีที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตร และเป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป B = จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตรทั้งหมด

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 A = จํานวนหญิงคลอดที่มีประวัติได้รับการดูแลก่อนคลอดครบทั้ง 5 ครั้งตามเกณฑ์ B = จํานวนหญิงคลอดทั้งหมด 6. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 7. ร้อยละรพ.สต.ANCคุณภาพ A=จํานวนรพ.สต./ศสช.ที่ให้บริการตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ B=จํานวนรพ.สต./ศสช.ทั้งหมดภายในจังหวัด

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 8. อัตราหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก (ที่คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ) อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (84 วัน) และ ANC ครบ 5 ครั้ง A = จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ในคลินิกฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ และครบ 5 ครั้ง B = จำนวนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทั้งหมดที่ฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์คุณภาพในช่วงเวลาเดียวกัน

ตัวชี้วัด สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A/B) x 100 9. ร้อยละการให้บริการ WCC มีคุณภาพ A = จำนวนคลินิก WCC ที่ให้บริการมีคุณภาพ B = จำนวนคลินิก WCC ทั้งหมดในจังหวัด

Thank you for your Attention