ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด จัดโดย กลุ่มงานควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
การดำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV รอบที่ 33 ปี 2558 จังหวัดตราด
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
การสำรวจสถานบริการและพนักงานบริการ
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด จัดโดย กลุ่มงานควบคุมโรค การประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินงาน ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี จังหวัดตราด ปี 2558 วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด จัดโดย กลุ่มงานควบคุมโรค

สรุปสถานการณ์เอดส์ จังหวัดตราด

จำนวนผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดตราด จำแนกตามเพศ ปี 2528 – 2557 จำนวนผู้ป่วยเอดส์ในจังหวัดตราด จำแนกตามเพศ ปี 2528 – 2557 จำนวนผู้ป่วยเอดส์สะสมจังหวัดตราด 3,565 ราย สาเหตุการติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน จำนวน ยาต้านไวรัสเอดส์ ที่มา : โปรแกรม AIDSOI

การติดเชื้อ HIV เปรียบเทียบรายกลุ่มประชากร จังหวัดตราด percent year พนักงานบริการตรง ลูกเรือประมง พนักงาน บริการแฝง หญิงตั้งครรภ์ โลหิตบริจาค 5.6 3.7 1.9 1.3 0.3 4 ที่มา : รายงานผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี และรายงานโปรแกรม PHIMS 4 4

แนวโน้มแสดงการติดเชื้อเอ็ชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดตราด ปี 2544-2557 ร้อยละ จังหวัดตราด เขต 3 ที่มา : รายงานการคลอดรายโรงพยาบาล การติดเชื้อเอ็ชไอวีในหญิงตั้งครรภ์ จำแนกรายอำเภอ จังหวัดตราด ปี 2557 ตำบลที่พบหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตรและติดเชื้อHIV หนองเสม็ด (เมือง) 1 ราย ท่ากุ่ม (เมือง) แหลมกลัด (เมือง) นนทรี (บ่อไร่) คลองใหญ่(แหลมงอบ) ร้อยละ แหลมงอบ เมือง คลองใหญ่ บ่อไร่ เกาะช้าง เขาสมิง จังหวัด เกาะกูด มีหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นติดเชื้อ HIV 5 ราย ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 3(0.14) 5 (0.2) 1 (0.05) 5 (0.25) 5 5

อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จังหวัดตราด จำแนกรายอำเภอ ปี 2553-2557 อัตราต่อแสนประชากร 2555 2556 2557 758.68 583.60 469.30 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จังหวัดตราด และ ระดับประเทศ ปี 2545-2557 อัตราต่อแสนประชากร ที่มา : รายงาน 506

อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดตราด ปี 2553-2557 อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดตราด ปี 2553-2557 อัตราต่อพันประชากร เป้าหมายไม่เกิน 50 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี

อัตราต่อพัน ปชก.การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดตราด จำแนกรายอำเภอ ปี 2553-2557 อ.คลองใหญ่ อ.เมือง อ.เขาสมิง อ.บ่อไร่ อ.เกาะกูด อ.แหลมงอบ อ.เกาะช้าง

ผลการตรวจการติดเชื้อเอ็ชไอวี ซิฟิลิส หนองใน หนองในเทียม กลุ่มพนักงานบริการ และ แรงงานข้ามชาติ จังหวัดตราด กลุ่มเป้าหมาย ผลการตรวจ ปี 2553 ปี 2555 ปี 2557 พนักงานบริการ เอ็ชไอวี 3.1 3.4 2.0 ซิฟิลิส 0.0 0.4 หนองใน 10.0 4.3 หนองในเทียม 9.7 10.8 18.8 แรงงานข้ามชาติ 5.0 2.4 1.3 0.7 1.2 2.7 4.8 8.3 ที่มา : รายงานผลสำรวจ IBBS กลุ่มพนักงานบริการและแรงงานข้ามชาติ จังหวัดตราด

ผลการตรวจการติดเชื้อ HIV และ Syphilis กลุ่มพนักงานบริการ อำเภอ ปี 2555 ปี 2557 ตรวจ HIV+ Sypilis reac เมือง 139 10 (7.2) 1 (0.7) 108 3 (2.8) คลองใหญ่ 40 2 (5.0) N/A แหลมงอบ 13 20 1 (5.0) เกาะช้าง 92 2 (2.2) 128 2 (1.6) 1 รวม 345 12 (3.5) 2 (0.6) 256 6 (2.3) 1 (0.4) อายุพนักงาน ต่ำสุด 15 ปี สูงสุด 55 ปี เฉลี่ย 29.5 ปี เฉลี่ย 29.7 ปี พบ HIV +Sy. 1 ราย

ผลสำรวจพฤติกรรมวัยรุ่น ปี 2557 ชั้น จำนวนที่สำรวจ ชาย หญิง รวม ม.2 329 336 665 ม.5 282 302 584 ปวช.2 160 149 309 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 10 แห่ง อาชีวศึกษา 3 แห่ง

เครื่องมือ: Smart phone กระบวนการเก็บข้อมูล เครื่องมือ: Smart phone

แนวโน้มแสดงการใช้ถุงยางวัยรุ่น (ครั้งล่าสุด) จังหวัดตราด ปี 2551-2557 แนวโน้มแสดงการใช้ถุงยางวัยรุ่น (ครั้งล่าสุด) จังหวัดตราด ปี 2551-2557 ร้อยละ อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น (ครั้งล่าสุด) จำแนกรายอำเภอ ปี 2555-2557 ร้อยละ 13 ที่มา : รายงานการสำรวจการใช้ถุงยางฯ นักเรียนชาย ม.5 เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด 13

การมีเพศสัมพันธ์ในรอบ 12 เดือน การใช้ถุงยางฯกับคู่ต่างๆ ร้อยละ การใช้ถุงยางฯกับคู่ต่างๆ ครั้งล่าสุด หลั่งข้างนอก ไว้ใจ หาไม่ทัน/คู่นอนคุมกำเนิด นับระยะปลอดภัย ยาคุมฉุกเฉิน สาเหตุไม่ใช้ถุงยาง จำนวนคู่นอนใน 1 ปี ม.2ช. ม.2ญ. ม.5ช. ม.5ญ. ปวช.2ช. ปวช.2ญ. เฉลี่ย (คน) 1 1.2 2.07 1.17 1.6 1.5 ต่ำสุด (คน) สูงสุด (คน) 2 13 5 11 6 14 ที่มา : รายงานการสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี 14

แนวโน้มระดับความรู้เรื่องเอดส์ จังหวัดตราด ปี 2547-2557 ร้อยละ ที่มา : รายงานการสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี

ระดับความรู้เรื่องโรคเอดส์จำแนกรายอำเภอ เปรียบเทียบ ปี 2555-2557 ระดับความรู้เรื่องโรคเอดส์จำแนกรายอำเภอ เปรียบเทียบ ปี 2555-2557 ร้อยละ ที่มา : รายงานการสำรวจพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอ็ชไอวี

ร้อยละการตอบคำถามถูกต้องจำแนกรายข้อปี 2557 ข้อที่ คำถาม ร้อยละที่ตอบถูกต้อง 1 การมีคู่นอนเพียงคนเดียวที่เป็นผู้ไม่มีเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์และไม่มีคู่นอนคนอื่น ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ได้ ใช่หรือไม่ 85.5 2 การสวมถุงยางอนามัยทุกครั้งขณะมีเพศสัมพันธ์ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ได้ ใช่หรือไม่ 95.9 3 คนที่ดูสุขภาพร่างกายแข็งแรงดี มีเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ได้ ใช่หรือไม่ 79 4 คนติดเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ได้จากการถูกยุงกัด ใช่หรือไม่ 80.1 5 คนติดเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ได้จากการกินอาหารร่วมกับผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี/เอดส์ ใช่หรือไม่ 63.6

ร้อยละการตอบคำถามถูกต้องจำแนกรายข้อปี 2557 ข้อที่ คำถาม ร้อยละที่ตอบถูกต้อง 6 โรคเอดส์เป็นแล้วรักษาให้หายขาดได้ ใช่หรือไม่ 85.5 7 ยาคุมฉุกเฉินใช้ป้องกันโรคเอดส์ได้ ใช่หรือไม่ 93.1 8 โรคเอดส์สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ใช่หรือไม่ 66.7 9 การล้างอวัยวะเพศหลังจากการมีเพศสัมพันธ์ ป้องกันการติดเชื้อเอดส์ได้ ใช่หรือไม่ 75.8

การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้นเล็กน้อย การใช้ถุงยางอนามัยเริ่มสูงขึ้น การติดเชื้อเอ็ชไอวีสูงขึ้น ระดับความรู้เรื่องโรคเอดส์ค่อนข้างคงที่ ร้อยละ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสูงขึ้น การใช้ถุงยางอนามัยเริ่มมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ความรู้/เข้าใจเรื่องเอดส์ยังไม่เปลี่ยนแปลง และยังมีปัญหาที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน 19 19

พื้นที่เสี่ยงจำแนกรายอำเภอ ตำบลเสี่ยงจากข้อมูลปี 2556-2557 เมือง หนองเสม็ด, ห้วงน้ำขาว, อ่าวใหญ่, วังกระแจะ, เนินทราย ท่ากุ่ม, ตะกาง, แหลมกลัด, หนองโสน, ห้วยแร้ง, ชำราก คลองใหญ่ คลองใหญ่, หาดเล็ก, ไม้รูด เขาสมิง แสนตุ้ง, วังตะเคียน, ท่าโสม, เทพนิมิต, ประณีต, ทุ่งนนทรีย์ บ่อไร่ ทุกตำบล แหลมงอบ เกาะกูด เกาะช้าง

ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่

ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด ร้อยละ จำแนกตาม สัญชาติ สัญชาติ 2553 2554 2555 2556 2557 ไทย 0.8 1.4 0.3 0.6 2.4 ต่างชาติ 1.7 ภาพรวม 1.1 0.9 0.2 3.0 1.3

ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด ร้อยละ จำแนกตาม กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ 2553 2554 2555 2556 2557 <=15 ปี 4.3 16-20 ปี 0.8 0.7 21-24 ปี 1.1 0.9 0.5 1.4 25-30 ปี 0.6 >30 ปี 4.5 4.8

ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด ความชุกการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มหญิงฝากครรภ์รายใหม่ จังหวัดตราด จำแนกตาม ลำดับครรภ์ ร้อยละ ลำดับครรภ์ 2553 2554 2555 2556 2557 ครรภ์ 1 0.6 0.4 ครรภ์ 2 1.6 1.2 0.5 ครรภ์ที่ 3 ขึ้นไป 2.0 3.7

ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มโลหิตบริจาค ปี 2556 ปี 2557 ตรวจ HIV+ Sypilis reac 359 3 (0.8) 565 2 (0.4) 3 (0.5) นักเรียน 2 ราย

ผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มประมง สัญชาติ ปี 2556 ปี 2557 ตรวจ HIV+ Sypilis reac ไทย 9 4 อื่น ๆ 79 1 (1.2) 2 (2.5) 78 3 (3.8) รวม 88 1 (1.1) 2 (2.3) 82 3 (3.7)

ที่มา : รายงานการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี การติดเชื้อเอ็ชไอวี กลุ่มประมง จังหวัดตราด จำแนกรายอำเภอ เปรียบเทียบ ปี 2554-2557 ร้อยละ พื้นที่ ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ตรวจ Sy.reac จังหวัด 109 1 (0.9) 88 2 (2.3) 81 อ.คลองใหญ่ 72 1 (1.4) 51 2 (3.9) 40 อ.แหลมงอบ 17 21 22 อ.เกาะกูด 20 16 19 ที่มา : รายงานการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอ็ชไอวี

บทสรุปสถานการณ์ แนวโน้มการพบผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี สูงขึ้น เนื่องจากมีบริการตรวจเลือดเชิงรุกทำให้ผู้มีความเสี่ยงได้ตรวจเลือดมากขึ้น(พบผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจาก 50 ราย/ปี เป็น 117 ราย/ปี : พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ทุก 3 วัน) จากการสุ่มเจาะเลือดกลุ่มเสี่ยง พบการติดเชื้อเอ็ชไอวี สูง ในกลุ่มลูกเรือประมงต่างชาติ, หญิงตั้งครรภ์ กลุ่มที่พบการติดเชื้อฯลดลงได้แก่ หญิงบริการ แนวโน้มการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น โดยเฉพาะโรคหนองใน (คลองใหญ่, เขาสมิง, เกาะกูด และเกาะช้าง) ส่วนใหญ่อายุ 15-24 ปี ประกอบกับพบการติดเชื้อเอ็ชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นสูงขึ้น ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่สำคัญของจังหวัดตราด ได้แก่ วัยรุ่น (ทุกอำเภอ) พนักงานบริการ (อ.เกาะช้าง,คลองใหญ่, เมือง) แรงงานข้ามชาติ (อ.คลองใหญ่

ข้อมูลที่ได้จากระบบเฝ้าระวังที่ดำเนินการ ช่วงมิถุนายน ของทุกปี ความชุกการติดเชื้อ HIV /STI กลุ่มเสี่ยง ข้อมูลทางระบาดวิทยาของผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี /ผู้มีความเสี่ยง (Time Place Person) แนวโน้มความเปลี่ยนแปลง พื้นที่อำเภอ สัญชาติ, เพศ, อายุ, อาชีพ, ลำดับครรภ์ ลักษณะพฤติกรรม (ความเสี่ยง, การเข้าถึงบริการ, ความรู้, ฯลฯ) ฯลฯ ประเมินผลการควบคุมป้องกันโรค วางแผนการควบคุมป้องกันโรค

www.trathealth.com ความรู้เรื่องโรคเอดส์ สถานการณ์โรค/การรักษา ยุทธศาสตร์เอดส์ฯจังหวัดตราด เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (ความรู้เอดส์, เรียนรู้เพศศึกษา, การรักษา, สิทธิด้านเอดส์)

ข้อมูลระดับประเทศ www.gfaidsboe.go.th

ขอบคุณค่ะ ขอบคุณค่ะ