ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
การพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวัน โดยใช้ Thai School Lunch
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
เรียนรู้จากการปฏิบัติ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส แนวทางการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ร่างเกณฑ์การประเมิน โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สำหรับโรงเรียนประเมินตนเอง ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส ในโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นางสาววรลักษณ์ คงหนู สำนักโภชนาการ นางสาวปรางค์ทอง ดวงโนแสน นักวิชาการอิสระ นายโกศล บุญยวง นักวิชาการอิสระ นายยุทธนา ทับแก้ว นักวิชาการอิสระ 23 เมษายน 2558 ณ โรงแรมพักพิงอิงทาง นนทบุรี

คำแนะนำผู้ทรงคุณวุฒิ(วันที่ 1-2 เม.ย. 58)เพื่อพัฒนางานต่อ องค์ประกอบในการประเมินมีอะไรบ้าง มาตรฐานการประเมินควรมีกี่มาตรฐาน ตัวชี้วัดความสำเร็จในแต่ละมาตรฐาน มีอะไรบ้าง คุณภาพการประเมิน 3.1 วัดเชิงคุณภาพ 3.2 วัดเชิงปริมาณ (รูบิค) และจะมีกี่ระดับของการประเมิน เกณฑ์การประเมิน (เล่มสีม่วง/เล่มสมเด็จพระเทพฯ /กทม./สพฐ./กรมอนามัย (วันที่ 1-2 เม.ย.) คำนิยามศัพท์และความหมายของตัวชี้วัด/คุณภาพการประเมิน ความถี่ในการประเมิน ปีละกี่ครั้ง (ปีละ 2 ครั้ง)

กรอบการจัดทำเกณฑ์การประเมินตนเอง โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ปี 2558 โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ปี 2558 Results 3. การประเมินผลลัพธ์ ที่เกิดกับโรงเรียน และนักเรียน Process INPUT 2. การประเมินผล กระบวนการ ครอบคลุม 8 กิจกรรม การประเมินผล ด้านการบริหาร จัดการของโรงเรียน

มี 3 มาตรฐานในการประเมิน มาตรฐานที่ 1: การบริหารจัดการภาพรวม โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส สู่ความสำเร็จ มาตรฐานที่ 2: กระบวนการพัฒนาสู่โรงเรียน ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ครอบคลุม 8 องค์ประกอบ มาตรฐานที่ 3: ระดับความสำเร็จใน การดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส

มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ครอบคลุม 8 องค์ประกอบ มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ ที่เกิดกับโรงเรียน และนักเรียน มาตรฐานที่ 3

ตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ 1. เกษตรในโรงเรียน 1.1 การเกษตรแบบผสมผสานตามบริบทของพื้นที่ -การปลูกพืชผัก ผลไม้หลากหลายชนิด -การเพาะเห็ด -การเลี้ยงสัตว์ -การประมง -การใช้ชีววิธีในการผลิต ลงมือปฏิบัติโดยนักเรียน ครู ชุมชน โดยมีเกษตร ประมง ปศุสัตว์เป็นที่ปรึกษา มีการผลิตทางเกษตร และหรือปศุสัตว์/ประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน มีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ 2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 2.1 สหกรณ์ร้านค้า 2.2 สหกรณ์ออมทรัพย์ 2.3 การเชื่อมโยงกับการ พัฒนาในด้านต่างๆ เช่น การเกษตรในโรงเรียน 2.4 การจัดทำบัญชี ในแต่ละกิจกรรม มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและหรือออมทรัพย์/ส่งเสริมการผลิตทางการเกษตร มีนักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีแกนนำนักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทำบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม มีการตรวจสอบการดำเนินกิจกรรม สหกรณ์แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ 3. การจัดบริการอาหารโรงเรียน 3. การจัดบริการอาหารโรงเรียน 3.1 แนวทางการจัดบริการอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย 3.2 การประเมินคุณภาพอาหารที่เชื่อมโยงกับภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพ มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงของโรงเรียนและหรือชุมชน มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนา การ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย อาหารกลางวันของนักเรียนมีปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วนหรือ อย่างน้อยร้อยละ 70 ของความต้องการฯ

แผนภูมิการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน 2. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียน อย่างน้อย 1 เดือน กำหนด ปริมาณวัตถุดิบอาหาร ราคาอาหาร ปริมาณพลังงานและสารอาหารเหมาะสมตามวัย 1. สร้างความเข้าใจ เรื่องอาหารและ โภชนาการระหว่างครู แม่ครัว แกนนำ นักเรียน และ ผู้ปกครอง 3. จัดทำทะเบียนวัตถุดิบ อาหารที่สอดคล้องกับ ผลผลิตเกษตรปลอดภัยใน ชุมชนและครัวเรือนตาม ฤดูกาล สร้างเศรษฐกิจชุมชน และความมั่นคงทางอาหาร อย่างยั่งยืน ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล อาหาร และอาหารปลอดภัย แม่ครัว : ได้รับการอบรมด้านการจัดการอาหารและ โภชนาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง : ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีด้านการสัมผัส อาหารทุกปี 4. จัดซื้อวัตถุดิบอาหารตามรายการ และปริมาณที่กำหนด โดยมีแกนนำ ชุมชน/ผู้ปกครองร่วมเป็น คณะกรรมการตรวจรับและตรวจสอบ คุณภาพอาหารทุกวัน 8. ประเมินผลคุณภาพอาหาร ที่เชื่อมโยงกับข้อมูล พฤติกรรมการกิน ภาวะ โภชนาการ และสุขภาพของ เด็ก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยชุมชนมีส่วนร่วม และนำ ผลการประเมินสื่อสารสู่ สังคม และพัฒนางาน 6. ตักอาหารให้เด็กมีสัดส่วน และปริมาณที่เพียงพอตาม คำแนะนำในธงโภชนาการ และใช้อุปกรณ์การบรรจุ อาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาล อาหารและอาหารปลอดภัย 7. บูรณาการและสอดแทรก ความรู้ด้านอาหารและ โภชนาการสู่หลักสูตรการ เรียนการสอนทั้งในและนอก ห้องเรียน เพื่อส่งเสริม ความรู้ ทักษะ และปรับ พฤติกรรมการกินของเด็ก

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายนักเรียน และสุขภาพ มีฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน มีการแปลผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการจัดทำโครงการ/กิจกรรมแก้ไขปัญหา โดยครอบครัวมีส่วนร่วม เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามทุกเดือน เด็กสามารถประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพได้ด้วยตนเอง

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน 5.1 สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 5.2 การดูแลสุขภาพ ช่องปาก 5.3 พัฒนาการทางเพศ และสุขอนามัย มีการจัดทำแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรม โรงเรียนมีการติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 6.1 สภาพ แวดล้อมในอาคารและโรงเรียน 6.2 คุณภาพน้ำ 6.3 ห้องส้วม 6.3 การจัดการขยะ และน้ำเสีย 6.4 การควบคุมและ กำจัดแมลงและ สัตว์พาหะนำโรค 6.5 การจัดสิ่งแวดล้อม ปลอดภัย 1. มีกิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เช่น ทำความสะอาดห้องเรียน ห้องส้วม 2. มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (น้ำดื่มสะอาด การจัดการขยะ ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ) มีความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน - น้ำดื่มที่สะอาด - ที่ล้างมือ - ห้องส้วม - การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค - ความสะอาด ปลอดภัย

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ การจัดบริการสุขภาพนักเรียน 7.1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และห้องพยาบาล และบริการสุขภาพ 7.2 การตรวจพยาธิ 7.3 การตรวจวินิจฉัยมาลาเรีย มีห้องปฐมพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน และมีครูอนามัยหรือครูพยาบาลรับผิดชอบดูแลตลอดเวลา 2. มีนักเรียนแกนนำร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ 3. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นตามมาตรฐานบริการสุขภาพ นักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือที่มีปัญหาสุขภาพทุกคนได้รับความช่วยเหลือแก้ไขเบื้องต้นอย่างเหมาะสม โดยมีการส่งต่อตามระบบการส่งต่อช่วยเหลือนักเรียน

องค์ประกอบ ตัวชี้วัดกระบวนการ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ 8.1 ชุดเรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส (ธงโภชนาการ ผักผลไม้ ลดหวานมันเค็ม โรคอ้วน และทันตฯ) 8.2 ชุดเรียนรู้ฉลาก โภชนากร 8.3 ชุดเรียนรู้การบริหารจัดการเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ มีแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ทั้งในและนอกห้องเรียนในทุกช่วงชั้น มีการจัดการการเรียนการสอนแบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ อย่างน้อย 40 ชั่วโมงต่อปี มีการประเมินความรู้และทักษะนักเรียนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพปีละ 2 ครั้ง มีสื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้ และฐานการเรียนรู้ของโรงเรียนและหรือชุมชนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพที่เกิดจากผลงานของครู นักเรียน ครอบครัว และชุมชน

ระดับคุณภาพการประเมิน แบ่งเป็นกี่ระดับ ที่นำเสนอมาในแต่ละกลุ่ม จะมีดังนี้ มี 2 ระดับ คือ 0 – 1 มี 3 ระดับ คือ 0 - 2 มี 4 ระดับ คือ 0 – 3 มี 5 ระดับ คือ 0 – 4 ** มี 6 ระดับ คือ 0 - 5 ความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับ 0 = ยังไม่ดำเนินการ ระดับ 1 = ยังไม่น่าพอใจ ระดับ 2 = พอใช้ ระดับ 3 = ดี ระดับ 4 = ดีมาก

ตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 1 เกษตรในโรงเรียน มีการผลิตทางเกษตร และหรือปศุสัตว์/ประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน คุณภาพการประเมิน ระดับ 0 = ยังไม่ดำเนินการ ระดับ 1 = ยังไม่น่าพอใจ = มีการดำเนินงานในข้อ 1 ระดับ 2 = พอใช้ = มีการดำเนินงานในข้อ 2 ระดับ 3 = ดี = มีการดำเนินงานในข้อ 3 ระดับ 4 = ดีมาก = มีการดำเนินงานในข้อ 4 ประเด็นการพิจารณาเพื่อจัดระดับคุณภาพการประเมิน ( ) ยังไม่มีการดำเนินการ ( ) ดำเนินการแล้ว มีการผลิตทางการเกษตรและหรือปศุสัตว์/ประมงโดยครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมและเด็กนักเรียนมีส่วนร่วม มีการผลิตทางการเกษตรและหรือปศุสัตว์/ประมงโดยครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมและเด็กนักเรียนและบุคลากรอื่นๆ ในโรงเรียน มีส่วนร่วม มีการผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์/ประมงโดยครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมและเด็กนักเรียนและบุคลากรอื่นๆ ในโรงเรียนและ ชุมชน มีส่วนร่วม มีการผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์/ประมงโดยครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมและเด็กนักเรียนและบุคลากรอื่นๆ ในโรงเรียนและ ชุมชน และภาคีเครือข่ายทุกระดับมีส่วนร่วม

มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ครอบคลุม 8 องค์ประกอบ มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ ที่เกิดกับโรงเรียน และนักเรียน มาตรฐานที่ 3

องค์ประกอบที่ 1.1 ด้านการบริหารจัดการให้เกิดองค์ประกอบที่........ ในโรงเรียน จะวัดกี่ข้อ อะไรบ้าง 1.2 ด้านกระบวนการองค์ประกอบที่...... มีกี่ข้อ วัด อะไรบ้าง 1.3 ผลที่เกิดจากการเกษตรในโรงเรียน 1.3.1 ผลลัพธ์กับนักเรียน (ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ) 1.3.2 ผลลัพธ์กับโรงเรียน 1.3.3 ผลลัพธ์กับชุมชน

สวัสดีค่ะ