โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต. ขามเฒ่าพัฒนา อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประวัติความเป็นมาของบ้านจำนัก
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
โครงการประตูระบายน้ำห้วยลังกา บ้านท่าลาด ตำบลนาเข อำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม สำนักงานก่อสร้าง 7 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง.
ประวัติความเป็นมา แต่ก่อนชาวบ้านมะค่าอาศัยที่พิมาย ต่อมาเกิดศึกกวาดไพร่ขึ้น คือ ได้มี กษัตริย์ของลาว คือ เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทร์ได้ยกกองทัพมาเพื่อกวาด.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
โรงเรียนบ้านไร่วิทยาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอบ้านไร่ รับนักเรียนสหศึกษา ประเภทเดินเรียนและมีนักเรียนอาศัยอยู่ใน บ้านพักนักเรียน โดยใช้สถานที่โรงเรียนบ้านไร่
นาย วิชัย ยุชังกูล โรงเรียนบ้านไร่วิทยาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำ อำเภอบ้านไร่ รับนักเรียนสหศึกษาประเภทเดินเรียนและมี นักเรียนอาศัยอยู่ในบ้านพักนักเรียน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
ตำบลดอนเงิน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านดอนยม หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขอนยาง
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านขิงแคง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โรงเรียนเทียมนคร วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครราชสีมา เขต ๒.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้ ๓ PS ประสานใจ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพร้าว
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
แนวคิดการใช้ข้อมูลสำมะโนประชากรและเคหะ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
ตำบลหินเหล็กไฟ ประวัติความเป็นมา พื้นที่ เขตพื้นที่
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอ (DM) ประจำเดือนเมษายน 2562
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน สิงหาคม 2559
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
นาย พิศณุ นิลกลัด.
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต. ขามเฒ่าพัฒนา อ โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม

ประวัติความเป็นมา บ้านปอแดงตั้งเมื่อพ.ศ. 2438 เดิมเป็นบ้านโคกป่าปอแดง ต่อมาได้มี นายทหารรอด นายเหล็ก ชาวบ้านขามเฒ่า ต่อมาหลวงพระกลาง พระพิพิธ นายเพชร และนายแขกชาวบ้านใคร่นุ่น ก็ได้อพยพมาอยู่ด้วย ได้บุกเบิก ถางโคกป่าปอแดงต่อไป และได้ตั้งบ้านเรือนขึ้น จนกลายเป็นหมู่บ้าน ขนาดย่อมๆ และคนอื่นๆจากบ้านขามเฒ่าบ้านใคร่นุ่นก็ได้อพยพกันมา เรื่อยๆ จากนั้นทุกคนจึงเห็นพ้องต้องกันว่าหมู่บ้านนี้เหมาะสมที่จะตั้งเป็น หมู่บ้านได้ จึงได้ปรึกษาหารือกันตั้งชื่อเป็น “บ้านดอนปอแดง” ขึ้นด้วย เหตุที่มีป่าปอแดงมากนั้นเอง

ที่ตั้งและอาณาเขต ที่ตั้งและอาณาเขต หมู่บ้านบ้านปอแดง หมู่ที่ 6 ตำบลขามเฒ่าพัฒนา อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เป็นหมู่บ้านขยายแต่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ และอยู่ห่างจากตัว อำเภอกันทรวิชัย ตามเส้นทางหลวงกันทรวิชัย-มหาสารคาม ยาวประมาณ 8 กิโลเมตร และอยู่ห่างตัวอำเภอเมืองตามเส้นทางมหาสารคาม-กันทรวิชัย ยาว ประมาณ 8 กิโลเมตร ส่วนทางเข้าหมู่บ้านจะมีทางแยกอยู่ขวามือ เมื่อเดินทางเข้า อำเภอกันทรวิชัยถนนเป็นทางลาดยางมีระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร บ้านปอแดง จะอยู่ฝั่งขวามือของถนนเข้าหมู่บ้าน สำหรับตัวหมู่บ้านมีอาณาเขตติดต่อดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับทุ่งนา ทิศใต้ ติดต่อกับห้วยกุดโดก ถัดไปคือ บ้านใคร่นุ่น ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านขามเฒ่าพัฒนา ทิศตะวันตก ติดต่อกับวัดป่าวังเลิง ถัดไปคือบ้านหัวขัว

สภาพทั่วไปของสังคม สภาพทางการเมืองการปกครอง สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางสุขภาพอนามัย สภาพทางด้านศาสนาและวัฒนธรรม สภาพทางการศึกษา สภาพทางสังคม สภาพทางทรัพยากรธรรมชาติ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านปอแดงคนปัจจุบัน นาย พิทยา วงศ์สุรินทร์ ผู้ใหญ่บ้านบ้านปอแดงคนปัจจุบัน นาย พิทยา วงศ์สุรินทร์

วัดสว่างอรุณ บ้านปอแดง

ประวัติวัดสว่างอรุณ วัดสว่างอรุณบ้านปอแดงตั้งเมื่อพ.ศ.2466โดยการนำของนายบุญจันทร์ ไชยอาจ ผู้ใหญ่บ้านปอแดงได้ชักชวนลูกบ้าน ได้สร้างขึ้นด้วยไม้ 1 หลังสามห้องพื้นกระดานหลังคามุงแฝกฝาแผงพร้อมเฉลียงต่อจากกุฏิ 3 ห้องพื้นกระดานไม้ตีฝาปล่อยโล่ง เมื่อ พ.ศ.2467 ได้สร้างศาลาการเปรียญด้วยไม้ 1 หลัง 4 ห้องพื้นกระดานหลังคามุงแฝกไม้ตีฝาปล่อยโล่ง ต่อมาเมื่อพ.ศ.2481 ศาลาการเปรียญได้เปลี่ยนหลังคามุงด้วยสังกะสี ต่อมาเมื่อพ.ศ. 2481ได้เปลี่ยนหลังคามุงด้วยสังกะสีทั้งกุฏิและศาลาการเปรียญพร้อมกันทั้ง 2 หลังในปีนั้น

ดอนปู่ตา

หมอสูตรประจำหมู่บ้าน นาย น้อย เผื่อนผึ้ง

หมอธรรมประจำหมู่บ้าน นาย หนูจันทร์ กองชา

โรงเรียนบ้านปอแดง

ประวัติโรงเรียน เดิมหมู่บ้านนี้ ไปเรียนที่โรงเรียนบ้านข้ามเฒ่า (ขามเฒ่าผดุงศิลป์) แต่ว่านักเรียนของโรงเรียนที่บ้าน ได้อาศัยศาลาการเปรียญวัดบ้านปอแดงเป็นสถานที่ทำการสอนนักเรียนเดิมเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2486 ทางอำเภอได้แต่งตั้งให้นายวีระ อินศร มาเป็นประธานในการ จัดตั้งให้ชื่อว่า โรงเรียนวัดบ้านปอแดงและแต่งตั้งให้นายสุข คำลือชา ครูโรงเรียนบ้านวังบัว (วังบัวสามัคคีวิทยา) มาดำรงตำแหน่งรักษาการแทนครูใหญ่โรงเรียนนี้ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2486 และได้แต่งตั้งให้ นายอาจ ฤทิธ์ทรงเมือง ครูโรงเรียนบ้านหัวขัว (อุตสาหราษฎร์วิทยา) มาดำรงตำแหน่งครูน้อยโรงเรียนนี้อีก รวมเป็นครู 2 คน

ผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้าน

ผลิตภัณฑ์ในชุมชน

ผลิตภัณฑ์ในชุมชน

สรุป 1. สภาพทั่วไปของบ้านปอแดง 1. สภาพทั่วไปของบ้านปอแดง ชุมชนบ้านปอแดงจัดได้ว่าเป็นชุมชนที่มีความพร้อมทางด้านสังคมและกายภาพดังนี้ 1.1 ทางด้านสังคม มีวัดและโรงเรียน ซึ่งเป็นศูนย์รวมทางวัฒนธรรมและทางการศึกษา ชาวบ้านทุกคนก็พร้อมที่จะให้ความร่วมมือทุกกิจกรรมที่จะได้จัดขึ้น 1.2 ทางด้านกายภาพ มีแหล่งน้ำที่จะใช้อุปโภคบริโภคในครัวเรือนและทำเกษตรโดยอาศัยน้ำฝนที่ตกตามฤดูกาลถึงแม้ว่าบางปีอาจจะตกล้าช้ากว่าปกติ ทำเลที่ตั้งของหมู่บ้านการคมนาคมมีความสะดวกสบาย บ้านเรือนก็มีการจัดที่เป็นระเบียบเรียบร้อย

โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 4.3 จบการนำเสนอ นางสาว กาญจนา ไตยวรรณ รหัส 454303101 โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 4.3