เรื่อง งานช่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง งานช่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี นำเสนอโดย ด.ญ.ชนนิกานต์ โซยรัมย์ เลขที่ 20 ด.ญ.ธัญญารักษ์ ลิ้มกลั่นดี เลขที่ 26 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เสนอ คุณครูสุริภา เตียงนิล
วัสดุช่าง วัสดุช่าง คือ วัสดุที่ใช้ในงานช่างเป็นวิชาสำหรับ วัสดุช่าง คือ วัสดุที่ใช้ในงานช่างเป็นวิชาสำหรับ ช่างทุกสาขาของงานอุตสาหกรรมเพราะเป็นวิชาที่ว่าด้วย คุณสมบัติในการใช้งานและการจำแนกมาตรฐานของวัสดุช่างต่างๆ ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ชนิดของวัสดุช่าง วัสดุช่างจำแนกได้เป็น2ประเภทคือวัสดุงานและวัสดุช่วยงาน วัสดุงานคือวัสดุที่ใช้งานจริงๆการผลิตได้รูปแบบตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน วัสดุช่วยงานคือวัสดุที่ให้วัสดุงานทำงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยช่วยในกระบวนการผลิตเมื่อสิ้นสุดกระบวนการแล้วชิ้นงาน นั้นๆจะไม่ปรากฏวัสดุช่วยงานอยู่เลยวัสดุช่วยงานได้แก่น้ำมันฯลฯ
วัสดุช่าง 1. โลหะ 1.1 โลหะพวกเหล็กสินแร่เหล็ก - เหล็กดิบ เหล็กบริสุทธิ์ เหล็กหล่อ เหล็กกล้า เหล็กประสม 1.2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก 1.2.1 โลหะหนัก - ทองแดง เงิน ตะกั่ว ดีบุก สังกะสี ฯลฯ 1.2.3โลหะเบา - อะลูมิเนียม แมกนีเซียม ไทเทเนียม เบริลเลียม 2.อโลหะ 2.1 สารสังเคราะห์ - พลาสติก แก้ว กาว สีฯลฯ 2.2 สารธรรมชาติ - ไม้ ยาง ทราย หนัง กำมถัน
วัสดุช่าง มีการจัดเรียงอะตอมเป็นระเบียบกว่าอโลหะโลหะแยกแบ่งออกเป็น โลหะ คือวัสดุที่ได้จากการถลุงจากสินแร่ต่างๆที่เกิดโดยธรรมชาติ มีการจัดเรียงอะตอมเป็นระเบียบกว่าอโลหะโลหะแยกแบ่งออกเป็น ก. โลหะที่เป็นเหล็ก(Ferrous Metal)ได้แก่ เหล็กหล่อ เหล็กกล้า เหล็กประสม ข. โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก (Non-ferrous Metal) ได้แก่ อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว ฯลฯ โลหะที่ไม่ใช่เหล็กนี้ยังเป็นพวกโลหะหนังและโลหะเบา การแบ่งโลหะเบายึดความหนาแน่นเป็นเกณฑ์
วัสดุช่าง อโลหะ คือ วัสดุที่ได้จากธรรมชาติ หรือได้จากการสังเคราะห์ขึ้นมา เช่น พลาสติก ปูนซีเมนต์ แก้ว ไม้ ยาง น้ำมัน ฯลฯมีคุณสมบัติต่างจากโลหะ การเรียงตัวของอะตอมไม่เป็นระเบียบอโลหะสามารถแยกได้ 2 ประเภท คือ ก. สารธรรมชาติ คือ วัสดุที่เกิดตามธรรมชาติ เช่น ไม้ ยาง ใยหินหนังสัตว์ เป็นต้น ข. สารสังเคราะห์ คือ วัสดุที่ผลิต หรือ สังเคราะห์ด้วยฝีมือมนุษย์เช่น กาว พลาสติก แก้ว เป็นต้น
ลักษณะสำคัญของโลหะวัสดุช่าง ลักษณะสำคัญๆของโลหะวัสดุช่างมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะ เช่น 1. ผิว ผิวของโลหะแต่ละชนิดไม่เหมือนกัน เช่น เหล็กกล้า : ผิวเรียบ เม็ดเกรนละเอียด สีเทา เคาะมีเสียงดังกังวาน เหล็กหล่อ : ผิวหยาบ เม็ดเกรนโตหยาบ มีสีดำ ขรุขระ 2. ลักษณะการเลือกวัสดุมาใช้งาน 1.ความหนาแน่น 2. ความแข็งของผิว 3. ความเปราะ 4. ความสามารถในการอัดรีดขึ้นรูป 5. ความแกร่งและความยืดหยุ่นตัว 3. ส่วนผสมในโลหะวัสดุช่าง โลหะที่บริสุทธิ์นั้นบางครั้งเวลานำไปใช้ก็อาจจะไม่มีแข็งแรงหรืออาจจะเกิดการกัดกร่อนสึกหรอได้
10. คุณสมบัติการทดลองใช้แม่เหล็กดูดได้ ลักษณะต่างๆของวัสดุช่าง 1.ลักษณะภายนอก 2. ความแข็งของวัสดุ 3. ความเปราะวัสดุที่แข็งมากจะเปราะทำให้หลอมได้ง่าย4. ความสามารถในการตี 5.อัตราส่วนผสม 6. ความเหนียว 7. ความยืดหยุ่น8. คุณสมบัติในการนำไฟฟ้า 9. คุณสมบัติในการนำความร้อน 10. คุณสมบัติการทดลองใช้แม่เหล็กดูดได้
การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ในบ้าน เช่น ค้อน เลื่อย คีม กรรไกรตัดกิ่ง กล่องใส่ของ รองเท้านักเรียน และกรอบรูป เมื่อใช้งานไประยะหนึ่งหรือใช้งานไม่ระมัดระวัง และใช้งานไม่ถูกวิธี อาจเกิดการชำรุดได้ ซึ่งอุปกรณ์เครื่องและเครื่องใช้ที่ชำรุดเล็กน้อย นักเรียนสามารถซ่อมแซมได้ด้วยตนเอง โดยใช้หลักการซ่อมแซมและวิธีการที่ถูกต้อง
ประโยชน์ของการซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่องมือและเครื่องใช้ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้มีประโยชน์ดังนี้ 1.เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2.วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ชำรุดสามารถนำกลับมาใช้ได้อีก 3.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจ้างช่างซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้และประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ 4.ใช้งานวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ที่ซ่อมแซมแล้วได้อย่างปลอดภัย 5.ฝึกทักษะในการซ่อมแซมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ 6.เป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาฝีมือของตนเองไปสู่การประกอบอาชีพช่าง
ความปลอดภัยในการซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ควรคำนึงถึงความปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจเกิดจากการทำงานโดยปฏิบัติได้ ดังนี้ 1.ตรวจสอบสภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่จะใช้ในการซ่อมแซม ถ้าหมดอายุการใช้งานหรือชำรุด ไม่ควรนำมาใช้ 2.มีความระมัดระวังและไม่ประมาท ขณะใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการซ่อมแซม 3.เก็บวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการซ่อมแซมให้เป็นระเบียบหลังใช้งาน ไม่วางเกะกะบนพื้น เพราะอาจจะสะดุดหกล้มได้ 4.ถ้าได้รับบาดเจ็บจากการทำงาน ต้องรีบบอกครูผู้สอนหรือผู้ใหญ่ที่อยู่ใกล้ทันที เพื่อจะได้ช่วยปฐมพยาบาลให้ทันที
เอกสารอ้างอิง อำพล ซื่อตรง. ม.ป.พ. วัสดุช่าง กรุงเทพฯ. อำพล ซื่อตรง. ม.ป.พ. วัสดุช่าง กรุงเทพฯ. สุนันทา ไพศาลศิลป์ 2551. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป. 4. สำนักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด.กรุงเทพฯ.