การพัฒนางาน. หน่วยงาน. จังหวัด. พ. ศ ด้วยวิธี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
สิริพรรณ ธีระกาญจน์, ……………………………… ……………………………… ……………………… …………………………………… …………………………………… และคณะ กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลพุทธชินราช จ. พิษณุโลก.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนางาน. หน่วยงาน. จังหวัด. พ. ศ. 2552-2556 ด้วยวิธี การพัฒนางาน...................... หน่วยงาน.................................. จังหวัด................. พ.ศ.2552-2556 ด้วยวิธี................ AN IMPROVEMENT OF …………….…………… AT ………………, ………………, ……Province 2009-2013, BY ………………………………… โดย ........ ........ ........ ....... ....... ....... และคณะ (ทีม สหสาชาวิชาชีพ สหองค์การ/กระทรวง/ภาคส่วน)

ความเป็นมา และ ความสำคัญ งาน............................. เป็นงานที่สำคัญของทุกองค์การ(เอกสารอ้างอิง) ปัญหาที่พบในโลก คือ ผลการดำเนินงาน ยังไม่ดี ทั้งด้านปริมาณงาน คุณภาพงาน เวลาและแรงงานที่ใช้ในการดำเนินงาน ความไม่พึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ (เอกสารอ้างอิง) ปัญหาที่พบในประเทศไทย เป็นในทำนองเดียวกันกับปัญหาที่พบในโลก (เอกสารอ้างอิง) ปัญหาที่พบใน......... เป็นในทำนองเดียวกันกับปัญหาที่พบในประเทศไทย โดยพบมากที่................ (เอกสารอ้างอิง) การแก้ปัญหาที่ผ่านมา ใช้............................................. สามารถแก้ปัญหาได้บ้าง แต่ยังด้อยประสิทธิภาพ (เอกสารอ้างอิง) การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน ควร................................................... ................................................... (เอกสารอ้างอิง) การ.......................................... เป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน (เอกสารอ้างอิง)

วัตถุประสงค์การวิจัย 1.เพื่อพัฒนา รูปแบบการดำเนินงาน ใหม่.............................................. โดยใช้ .............................. 2.เพื่อเปรียบเทียบ ผลการดำเนินงาน.................................... ระหว่าง ก่อน กับ หลัง การนำรูปแบบ ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ จำแนกเป็นรายปี

Research Design วิจัยพัฒนาเชิงทดลอง สิ่งที่ใช้ในการทดลอง นำไปทดลอง แบบกลุ่มเดียว วัดผล ก่อน-หลัง การทดลอง หลายครั้ง (Experimental Development Research, one group Pre-test and Post-test, Time series Design) สิ่งที่ใช้ในการทดลอง คือ รูปแบบการดำเนินงาน............................... โดยใช้ .................................. ที่พัฒนาขึ้น โดยมีการปรับปรุงพัฒนาเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม มาประยุกต์ นำไปทดลอง ที่...................... พื้นที่/หน่วยงาน .................................. อ.................... จ...................... ระหว่างวันที่ .................. ถึง .......................

ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง (Population & Sample) คือ ทั้งหมดของการดำเนินงาน........................................... ในช่วงเวลาที่ศึกษา ตั้งแต่ วันที่ .......2552 ถึง ............. 2556 รวมทั้งสิ้น …… ครั้ง ใช้ประชากรทั้งหมด เป็นกลุ่มตัวอย่าง การดำเนินงาน.................................แต่ละครั้ง เริ่มต้นที่ การ................................................จนถึง .......................................................................................โดยสมบูรณ์

เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย (Research Instruments for Data Collection) 1.แบบบันทึกข้อมูลลักษณะพื้นฐานของพื้นที่วิจัย 2.แบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานของงาน และ การดำเนินงาน............ 3.แบบบันทึกการปฏิบัติงานและผลการปฏิบัติงาน.................. 4.แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการดำเนินงาน ของงาน........................ 5.แบบสอบถามความพึงพอใจ และ ข้อเสนอแนะ ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน.............. 6.แบบบันทึกการประชุมกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน.......................... และ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 7.แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน............. 8.แบบสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน................... 9.กล้องถ่ายรูป

แบบบันทึกผลการดำเนินงานประจำเดือน แบบสังเกตุการปฏิบัติงาน และ สิ่งที่มีผลต่อการดำเนินงาน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถามความพึงพอใจและข้อเสนอแนะ แบบบันทึกการปฏิบัติงาน และ ผลการปฏิบัติงาน แบบบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนในการทำวิจัย มี 3 ขั้นตอน คือ 1.ก่อนการทดลอง (Pre-Experimental Phase) โดยการ วิเคราะห์รูปแบบการดำเนินงานเดิม วิธีการดำเนินงาน และ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาจุดหรือประเด็น ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งศึกษาวรรณกรรม ทั้งทฤษฎี หลักการ นโยบาย แผนงาน และ แนวทางการดำเนินงาน ที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาประยุกต์ในพื้นที่ 2.ขณะทดลอง (Experimental Phase)โดยการนำรูปแบบการดำเนินงานที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ มีการทบทวน ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนิน และ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ กระบวนงาน และ วิธีปฏิบัติ ในการดำเนินงาน........................ ให้เหมาะสม และ มีประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ในช่วงเวลาต่อๆมา 3.หลังการทดลอง (Post-Experimental Phase) โดยการนำข้อมูลทั้งหลาย มารวบรวม วิเคราะห์ และ สรุป ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ขั้นตอน และ วิธีการ ในการสร้างและพัฒนารูปแบบการดำเนินงานใหม่ ดำเนินการอย่างครบวงจร (Cycle) ในแต่ละปี เป็น 4 ขั้นตอน คือ วิเคราะห์รูปแบบการดำเนินงานเดิม ของงาน................. ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาจุดหรือประเด็น ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข กำหนดรูปแบบ/ระบบ/วิธีการ ใหม่ เบื้องต้น โดยการนำทฤษฎีและ หลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง มาประยุกต์ ในการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน................... ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ทดลอง ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เน้นที่ความเหมาะสม Practical และ ประสิทธิภาพ ของการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอน และ วิธีการ (ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 นำรูปแบบ/ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ เบื้องต้น ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการทดลอง โดยมีการติดตาม ทบทวน ประเมิน ผลการดำเนิน และ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น เป็นระยะๆ แล้วนำผลที่ได้ มาปรับปรุงระบบงาน/วิธีการ/กระบวนงาน และ วิธีปฏิบัติ ในการดำเนินงานให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ยิ่งๆขึ้น ในช่วงต่อๆมา สรุปผลการดำเนินงานในปีนั้น ด้วยการนำข้อมูลทั้งหลาย จากขั้นตอนที่ 1-3 มารวบรวม วิเคราะห์ และ สรุป เป็นรูปแบบใหม่ของงาน....... ที่ได้ผ่านการนำไปใช้จริงในพื้นที่ทดลองแล้ว 1 ปีที่เป็นผลของการวิจัย ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ในปีนั้น ขั้นตอนที่ 4

Descriptive Statistics การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ Descriptive Statistics และ Content Analysis

ผลการวิจัย

ที่ได้ผ่านการทดลองใช้จริงแล้ว … ปี รูปแบบการดำเนินงาน .................................. โดย......................... ที่ได้ผ่านการทดลองใช้จริงแล้ว … ปี สรุปได้ ดังนี้ 1. ................................................................................... 2. ................................................................................... 3. ................................................................................... 4. ................................................................................... 5. ................................................................................... 6. ................................................................................... 7. ................................................................................... 8. ................................................................................... 9. ...................................................................................

เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นกับรูปแบบเดิม 1. ....................................... 2. ....................................... 3. ....................................... 4. ....................................... 1. ...................................... 2. ...................................... 3. ...................................... 4. ......................................

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน (ปีงบประมาณ 2552) กับ หลัง (ปีงบประมาณ 2553-2556) การนำรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2552 2553 2554 2555 2556 จำนวนผลงาน อัตราการเกิดภาวะไม่พึงประสงค์ เวลาที่ใช้ในการให้บริการ แรงงานที่ใช้ในการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้บริหาร ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ ค่าใช้จ่าย/ต้นทุน ค่าใช้จ่ายที่สามารถประหยัดได้ N/A ด้านผู้รับบริการ ด้านหน่วยงาน/ผู้ให้บริการ ด้านชุมชน/ประเทศชาติ ฯลฯ N/A: No data available

ภาพ Graph แสดงและเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน การฝึกอบรม ผู้นำ R2R การพัฒนางานตามภารกิจหลัก สู่งานวิจัย R2R ภาพ Graph แสดงและเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ระหว่าง ก่อน (ปีงบประมาณ 2552) กับ หลัง (ปีงบประมาณ 2553-2556) การนำรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ รศ.นพ.สมชาติ โตรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล

อภิปรายผลการวิจัย รูปแบบใหม่ ที่พัฒนาขึ้น สอดคล้องกับ เป็นรูปแบบการดำเนินงาน (Working Model) ที่ดี มีระบบงาน/วิธีการ ที่เหมาะสม กับพื้นที่ /หน่วยงาน ......... ที่มีข้อจำกัดด้านบุคลากร และ มีภาระงานมาก เนื่องจากเหตุผล … ประการ คือ 1.ได้พัฒนาขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการทำงานเป็นทีมอย่างจริงจัง เป็นที่ยอมรับ จากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน สามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยไม่เป็นภาระมากนัก กับผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ให้บริการ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ สอดคล้องกับ แนวคิดของการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนา ที่เน้นการมีส่วนร่วมในการสร้างและพัฒนารูปแบบ จากผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ ตั้งแต่เริ่มต้น โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (สมชาติ โตรักษา, 2548)

อภิปรายผลการวิจัย (ต่อ) 2.ให้ผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วม ในการกำหนดแนว ทางการดำเนินงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติรู้สึกเป็นเจ้าของ มีความพึงพอใจ มีทัศนคติที่ดี และ ให้ความร่วมมือ ในการดำเนินงาน (..........................................) 3.มีการร่วมกันประเมิน วิเคราะห์ การดำเนินงาน และ ผลดำเนินงาน........................ และ สังเคราะห์แนวทางและวิธีการใหม่ ที่เหมาะสม เพื่อการแก้ปัญหา จากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน (....................................)

สิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ 1.ได้รูปแบบ/ระบบงาน/วิธีการ ใหม่ ของการดำเนินงาน......... ............... ที่ได้ผ่านการนำไปใช้จริงในพื้นที่แล้ว รวม.....ปี 2.ได้ประสบการณ์ในการดำเนินงานพัฒนางาน............. อย่างต่อเนื่อง รวม.....ปี 3.ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน และ ผลการดำเนิน งาน ในการพัฒนางาน.......... อย่างต่อเนื่อง รวม.....ปี 4.ได้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงาน....... การวิเคราะห์ การกำหนดตัวชี้วัด การสร้างเครื่องมือวัดและการวัดผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดำเนินงาน และ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.ได้ความคิดที่สร้างสรรค์ และประสบการณ์จริง ในการพัฒนางานด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ 6.ได้ประสบการณ์ การทำวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาที่ได้ผลจริง

ข้อเสนอแนะทั่วไป ในการนำสิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ไปใช้ประโยชน์ ข้อเสนอแนะทั่วไป ในการนำสิ่งที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ไปใช้ประโยชน์ ควรนำแนวคิด แนวทาง และ วิธีการ ที่ได้ดำเนินการในการวิจัยครั้งนี้ ไปเป็นบทเรียนตัวอย่างของการพัฒนา ที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและการดำเนินการพัฒนาบุคลากร งาน หน่วยงาน องค์การ ต่างๆ ได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นำไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ของหน่วยงาน/ องค์การ อย่างมั่นคง และ ยั่งยืน ยิ่งๆขึ้น

ข้อเสนอแนะ ในการทำวิจัยต่อไป ในการทำวิจัยเรื่องเดิม 1.ควรพัฒนาให้ครอบคลุม “ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน” ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านปริมาณงาน ด้านคุณภาพของผลการดำเนินงาน ด้านระยะเวลาและแรงงานที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง และ ด้านเศรษฐศาสตร์ของการดำเนินงาน 2.ควรทำวิจัยและพัฒนา (R&D) ต่อไป จนได้ “ตัวแบบ (Prototype)” ของงาน.......................... ที่ดี มีประสิทธิภาพสูง ยิ่งๆขึ้น อย่างยั่งยืน

ในการทำวิจัยเรื่องใหม่ ควรนำหลักการ และ วิธีการ ของการวิจัยพัฒนาเชิงทดลองนี้ ไปใช้ในการเพิ่มคุณค่า จากสิ่งที่ได้จากการดำเนินงาน ในทุกๆกิจกรรม โดยใช้แนวคิด หลักการ และ วิธีการ ของ 1.การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) 2.การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development) และ 3.การพัฒนาด้วย Public-Private-Partnership: PPP เน้นการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการบูรณาการจากทุกภาคส่วนอย่างกลมกลืน

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุณาของ ..................... นพ.สสจ........................ ผู้อำนวยการ ............... ....................................... หัวหน้ากลุ่มงาน.................. หัวหน้างานและผู้ปฏิบัติงานทุกท่าน ของ...............ใน รพ............... และ ผู้รับบริการทุกท่าน ที่เป็นผู้ให้ข้อมูล ที่ได้ให้โอกาส และ ให้การสนับสนุน ในการทำวิจัย

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ภาพก่อนพัฒนา ภาพการพัฒนาปี๑ ภาพการพัฒนาปี๒ ภาพการพัฒนาปี๓ ภาพผลการวิจัย ภาพประกอบอื่น

Slide จบ