โครงการศึกษาข้อมูลทท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิธีมอบโล่และเกียรติบัตรการประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 บ้านน่าอยู่...
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
เครื่องเบญจรงค์.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต. ขามเฒ่าพัฒนา อ
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านขิงแคง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
ธนาคารมูลฝอยเคลื่อนที่
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
Material requirements planning (MRP) systems
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กลุ่มเกษตรกร.
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
ขดลวดพยุงสายยาง.
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาข้อมูลทท้องถิ่น บ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม

ยินดีต้อนรับ สู่บ้านหม้อ

ประวัติบ้านหม้อ หมู่ 11 ต. เขวา อ. เมือง จ. มหาสารคาม เมื่อประมาณ 150-200 ปีที่ผ่านมา พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งบ้านหม้อในปัจจุบันอยุ่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดมหาสารคาม เป็นป่าไม่นานาพันธ์มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่ ในสมัยนั้นมีชาวบ้านจาก อ. โนนสูง จ. นครราชสีมา ได้มาค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าจำพวกเครื่องใช้สอยต่างๆ และ เครื่องปั้นดินเผา เมื่อค้าขายเสร็จแล้วได้พากันเดินทางมาพักอาศัยหลับนอนที่ป่าไม้แห่งนี้

หลังจากค้าขายเสร็จแล้วก็พากันกลับไป อ. โนนสูง จ หลังจากค้าขายเสร็จแล้วก็พากันกลับไป อ.โนนสูง จ. นครราชสีมาแล้วได้ชักชวนชาวบ้านในหมู่บ้านที่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน อพยบมาค้าขายและเล่นลิเก ผู้นำที่พาอพยบมา คือ ตาคำ หลังจากนั้นก็ได้มีการหักร้างถางป่าถางพงทำเป็นที่อยู่อาศัย ในบริเวณนั้นมีหนองน้ำอยู่ 2 แห่งคือ หนองเลิง ภายหลังได้มีการเรียกชื่อให่มให้ง่ายขึ้น จึงเรียกว่า หนองเลิงเบ็น เป็นหนองน้ำที่มีวัตถุดิบ คือ ดินเหนียว เหมาะกับการนำมาทำเป็นเครื่องปั้นดินเผา จึงได้ ขุดดินในหนองเลิงเบ็นมาปั้นหม้อและภาชนะ อื่นๆ

แล้วนำเครื่องปั้นดินเผาที่ทำได้ออกไปจำหน่วยค้าขายกับหมู่บ้านใกล้เคียงและที่อื่นๆ จนคนในหมู่บ้านและชาวบ้านที่รู้จัก เรียกหมู่ บ้านแห่งนี้ว่า บ้านหม้อ จนติดปากเป็นที่รู้จักกันจนถึงปัจจุบันนี้

อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดหัวยคะคาง ต. เกิ้ง อ. เมือง จ. มหาสารคาม ทิศเหนือ ติดหัวยคะคาง ต. เกิ้ง อ. เมือง จ. มหาสารคาม ทิศใต้ ติดถนนแจ้งสนิท ทิศตะวันออก ติดบ้านติ้ว ต. เขวา อ. เมือง จ. มหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดบ้านแมด อ. เมือง จ. มหาสารคาม

สภาพบ้านเรือน การสร้างบ้านเรือนเหมือนหมู่บ้านอื่น ๆ ตามชนบททั่วไป คือ บ้านที่ปลูกนิยมยกพื้นปล่อยให้ใต้ถุนโล่ง มีบันไดขั้นบ้านหัวบันไดไม่มีประตูบิด

ความเชื่อ ชาวบ้านมีความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งเล้นลับ เช่น เวลาออกเดินทางไปที่ไหนที่ไกลจากบ้านไปก็จะมีการจุดธูปเทียนเพื่อเป็นการบอกเจ้าที่ทางบ้าน ผีบ้านผีเรือน ให้คุ้มครองปกบักรักษาให้ปลอดภัยในการเดินทาง ประเพณี ที่บ้านหม้อมีประเพณี คือยึดถือฮิตสิบสองครองสิบสี่ แบ่งออกเป็น 4 คุ้ม คุ้มริเริ่มพัฒนา มี นายสุพรรณ จันทรจรูญ เป็นหัวหน้าคุ้ม คุ้มสามัคคี มี นายแก้ว แก้วกลาง เป็นหัวหน้าคุ้ม คุ้มทิศอุทัย มี นายสนอง สวนมะไฟ เป็นหัวหน้าคุ้ม คุ้มแผ่นดินทอง มี นายบัวพันธ์ แสนอามาตย์ เป็นหัวหน้าคุ้ม

วิธีการปั้นหม้อ 1.เริ่มจากการเตรียมวัสดุ 1.1 ดินเชื้อ

วิธีการผสมดินเชื้อ - ดินโคลน -แกลบ -หลังจากนั้นนำมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วปั้นให้เป็นก้อนเท่ากับก้อนมะพร้าว แล้วนำมาตากแดดให้แห้ง

ใช้เวลาในการตาก 1 อาทิตย์ การตากหัวเชื้อ ใช้เวลาในการตาก 1 อาทิตย์

1.2 ดินดิบ

1.3 วิธีการผสมดิน - นำเอาดินเชื้อมาตำ ให้พอหยาบๆ ใส่ตะแกรงร่อนให้ลงไปในภาชนะที่รองรับ -นำเอาดินเชื้อที่ร่อนเสร็จแล้วมากระจายใส่ในกระสอบปุ๋ย -นำดินดิบมาผสมกับดินเชื้อที่กระจายไว้ ในอัตราส่วน 2/1แล้วใช้กำลังคนย่ำให้เนื้อดินเข้ากัน -ขณะที่ย่ำควรใส่พรมน้ำด้วยเล็กน้อย เพื่อเพิ่มความชุ่มชื่นให้กับดิน

การขัดหม้อ

1.4 เครื่องมือ -ไม้กลิ้ง ไม้ตีราบ หินดุ ไม้สักหลาย ลูกกลิ้งลาย ไม้รัว เศษถุงพลาสติก

2.วิธีการปั้นขึ้นรูป จะแบ่งออกเป็น 2วิธี คือ 2.วิธีการปั้นขึ้นรูป จะแบ่งออกเป็น 2วิธี คือ 2.1 การปั้นขึ้นรูปด้วยมือ เป็นการปั้นที่ใช้มือในการปั้นเป็นรูปทรงตามต้องการ

วิธีปั้นด้วยมือ คือ - นำดินที่ผสมแล้วมาวางแนบให้ราบ ใช้ไม้กลิ้ง ๆ ไปบนดินให้แบนก่อน แล้วม้วนให้มาบรรจบกัน นำขึ้นวางบนครกที่คว่ำหน้าลงทำเป็นรูปขนาด ตามที่ต้องการ ทำไว้ให้ได้ประมาณ 10 ใบ

-เสร็จแล้วนำไปผึ่ง จนหมาดพอสมควร หลังจากนั้นจึงนำมาตีอีกครั้ง -จากนั้นนำมาวางขึ้นบนครกอีกครั้ง ทำปากหม้อให้ได้รูปทรงที่สวยงาม ด้วยการใช้ถุงพลาสติกทำการสวีปาก -เสร็จแล้วนำไปผึ่ง จนหมาดพอสมควร หลังจากนั้นจึงนำมาตีอีกครั้ง

2.2 การขึ้นรูปด้วยเครื่อง

การขึ้นรูปด้วยเครื่อง

การตาก

3. การเผา จะมีวิธีการเผา2 ลักษณะ คือ 3. การเผา จะมีวิธีการเผา2 ลักษณะ คือ 3.1 เตาเผานอก เป็นการเผาข้าง ๆ ถนน บริเวณที่กำหนดเอง โดยจะใช้ฟางในการเผา

3.2 เผาเตาใน

เตาเผาหม้อ

หม้อที่เผาเสร็จแล้ว

โอ่งใส่น้ำขนาดเล็ก

นาวสาวสายรุ่ง เนตรโสภา โปรแกรมวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ จัดทำโดย นาวสาวสายรุ่ง เนตรโสภา โปรแกรมวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ รหัส 444303128