สกลนครโมเดล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกลนครโมเดล.
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สกลนครโมเดล

สกลนครโมเดล สกลนครโมเดล คือ พื้นที่ต้นแบบการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการ และ IQ/EQ โดยบูรณาการขับเคลื่อนงานแบบภาคีเครือข่าย

ความเป็นมา ปีงบประมาณ 2555 จังหวัดสกลนครได้มีกลไกการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย โดยมีการดำเนินกิจกรรม “ กิน กอด เล่น เล่า ” และจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของแต่ละอำเภอ ผลการประเมิน IQ และ EQ หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า  ระดับเชาน์ปัญญาของเด็กอายุ 2-6 ปี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 100.35 ระดับความฉลาดทางอารมณ์มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 166.57 เป็น 178.75

พื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน ความเป็นมา ปีงบประมาณ 2556 พื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน อำเภออากาศอำนวย

จากข้อมูลพัฒนาการเด็ก อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร ความเป็นมา จากข้อมูลพัฒนาการเด็ก อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร ปีพ.ศ.2556 พบปัญหาดังนี้ เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยเข้าถึงระบบบริการร้อยละ 5.23 ระบบบริการยากต่อการเข้าถึง ระบบการส่งต่อยังไม่ชัดเจน

รูปแบบการดูแลพัฒนาการและIQ/EQ ในเขตสุขภาพที่ 8 ทีมงานดำเนินการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ คณะทำงานพัฒนาระบบบริการ สาขาสุขภาพจิต เขตสุขภาพที่ 8 สกลนคร โมเดล ขับเคลื่อน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คุณภาพ สกลนครโมเดล WCC คุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คุณภาพ โรงเรียนประถม คุณภาพ รพช.ดูแลเด็กที่มี พัฒนาการล่าช้าด้วย DSI 300 รพ.สต.ใช้ TDSI70 ดูแลและติดตามเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ โรงเรียนประถมศึกษา/ ชุมชน - ประเมินเด็กด้วยอนามัย55/EQ - จัดกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า - ส่งต่อเด็กที่มีปัญหาไป รพ. - ส่งต่อแฟ้มประวัติเด็กเมื่อขึ้น ป.1 - คัดกรองเด็กด้วย SDQ/ EQ/4 โรคหลัก จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในโรงเรียน - ดูแลเด็กป่วยเป็นรายบุคคล และดูแลร่วมกับโรงพยาบาล ภาคีเครือข่าย รพ.สต./ รพช./ สสอ/ สสจ., นายอำเภอ/ อปท. / อสม/พัฒนาสังคม / โรงเรียนประถมศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

Best Practice อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร Well child Clinic ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน - เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย 119 ราย - กระตุ้นด้วย TDSI 70 ไม่ผ่าน 70 ราย - กระตุ้น DSI 300 70 ราย - ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์สกลนคร8 ราย - ฟื้นฟูต่อในชุมชนจำนวน 6 ราย ดำเนินงานครอบคลุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทุกแห่ง ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า หลังดำเนินงานเด็กส่วนใหญ่ความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จาก 48.5 เป็น 50.1 คัดกรองเด็กจำนวน 37 ราย พบเด็กพิเศษ 13 ราย - จัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล - มีระบบส่งต่อคลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก

นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน

นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน

นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน

นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน

นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน

บทบาทนักวิชาการสาธารณสุขในสกลนครโมเดล ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล 1.ร่วมคิด : ผลักดันให้เกิดสกลนครโมเดล และวางแผนการดำเนินงานแบบบูรณาการโดยภาคีเครือข่าย 2.ร่วมทำ : พัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยการจัดอบรม สนับสนุนสื่อดำเนินงาน อุปกรณ์ TDSI/ DSI ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะการดำเนินงาน เป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาและพัฒนากิจกรรมการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ 3.ร่วมประเมินผล : ติดตาม การดำเนินงาน การใช้เครื่องมือ/แบบประเมิน รูปแบบกิจกรรมใน คลินิกกระตุ้นพัฒนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถมศึกษา ให้ใจ ได้ศรัทธา กลับคืนมาด้วยผลงาน

การต่อยอดและขยายผล 1. ขยายผลสกลนครโมเดลระดับเขตสุขภาพที่ 8 ในทุกจังหวัด 2. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับพื้นที่อื่นในระดับประเทศ

เกิดเป็นต้นแบบระดับประเทศ ได้รับเกียรติจากท่านรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน และคณะ ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษา กระบวนการดำเนินงาน อันจะนำไปสู่การขยายผลในพื้นที่อื่นต่อไป

“ควรนำต้นแบบการดำเนินงานอำเภออากาศอำนวย ไปขยายผลการดำเนินงานในทุกจังหวัด และควรผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กเพิ่มให้ครอบคลุมทั้งประเทศ” ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข การที่กรมสุขภาพจิตช่วยผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่นลงสู่พื้นที่ นับเป็นkey success ของงานกลุ่มวัยเด็กในพื้นที่ นพ.สมชาย พรหมจักร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวานรนิวาส

“พื้นที่จะดำเนินงานสำเร็จไม่ได้ หากขาดกรมวิชาการ โดยเฉพาะศูนย์สุขภาพจิตและโรงพยาบาลจิตเวช ที่สนับสนุนการดำเนินการ” นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

“การที่กรมสุขภาพจิตช่วยผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่นลงสู่พื้นที่ นับเป็น key success ของกลุ่มวัยเด็กในพื้นที่” นายแพทย์สมชาย พรหมจักร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวานรนิวาส

ในการดูแลเด็กที่เชื่อมโยง ทั้งคลินิก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน เด็กคืออนาคตของชาติ ทีมโรงพยาบาลอากาศอำนวยจึงให้ความสำคัญกับการวางรากฐาน เรื่องการพัฒนาการไอคิวและอีคิว โดยจัดระบบบริการคลินิกกระตุ้นพัฒนาการ รวมถึงการดูแลบ้านและชุมชน ภายใต้ความร่วมมือของเครือข่ายทุกภาคส่วน และมุ่งมั่นพัฒนาให้เป็นพื้นที่ต้นแบบ ในการดูแลเด็กที่เชื่อมโยง ทั้งคลินิก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน

นายเเพทย์กิตตินาถ ติยะพิบูลย์ไชยา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลอากาศอำนวย นายเเพทย์กิตตินาถ ติยะพิบูลย์ไชยา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลอากาศอำนวย ผู้ขับเคลื่อนงานพัฒนาการและไอคิวอีคิวในพื้นที่ จนกลายเป็นต้นแบบการดำเนินงาน ระดับเขตสุขภาพที่ 8

เกิดนโยบายการดำเนินงานในระดับประเทศ ผลักดันให้เกิดคลินิกเด็กดีคุณภาพ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ

ขอบคุณค่ะ