วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing ) พนิต เข็มทอง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประเมินคุณภาพ ภายนอก การประกันคุณภาพ ภายใน อะไรคือ…. การประกันคุณภาพการศึกษา Quality control Quality assessment การประเมินคุณภาพ ภายนอก Quality audit การประกันคุณภาพ ภายใน Quality assurance = (การประกันคุณภาพการศึกษา)
AUDIT ASSESSMENT สถาบันกำหนดดัชนี เกณฑ์ตรวจสอบจากหลักฐาน ว่ามีคุณภาพตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ ( การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ) ASSESSMENT ตัดสินว่ามีคุณภาพตรงตามเกณฑ์ที่ ผู้ประเมินกำหนด ( การประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา )
= การค้นหา + การพิสูจน์หลักฐาน การตรวจสอบ ( Auditing )
วิธีการตรวจสอบ 1. การอ่าน SSR 2. การสัมภาษณ์ 3. การสังเกต
คุณภาพคืออะไร ? ตรงตามวัตถุประสงค์ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ความสอดคล้องระหว่างผลงานเมื่อนำมา เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ ประสิทธิผลและการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า การพัฒนาที่เป็นระบบอย่างต่อเนื่อง
1. เทคนิคการอ่าน SSR (Self Study Report)
SSR เขียนในสิ่งที่ทำ Write what you do ทำในสิ่งที่เขียน Do what you write บันทึกในสิ่งที่ทำแล้ว Record what you have done
ส่วนประกอบของ SSR ส่วนนำ ความเป็นมา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ ความเป็นมา ปณิธาน และวัตถุประสงค์ โครงสร้างการบริหาร ระบบประกันคุณภาพ ข้อมูลต่างๆ ระบบ กลไกการปฏิบัติงาน และการดำเนินงานตาม องค์ประกอบ
ส่วนประกอบของ SSR ( ต่อ ) การตรวจสอบคุณภาพภายใน วิธีการตรวจสอบ สรุปผลการตรวจสอบ (จุดแข็ง จุดอ่อน การปรับปรุง) รายการเอกสารแหล่งตรวจสอบ
เทคนิคการอ่าน SSR มุ่งทำความเข้าใจให้ตรงกัน Definition ระบบ กลไก Evidence หลักฐาน ( เพื่อการค้นหา ) ผลการวิเคราะห์ตนเอง และข้อเสนอแนะ
* อย่าอ่านหาเรื่อง!!! (อ่านแบบจับผิด) เทคนิคการอ่าน SSR อ่านเอาเรื่อง / เอาความ * อย่าอ่านหาเรื่อง!!! (อ่านแบบจับผิด)
2. เทคนิคการสัมภาษณ์ แนะนำตนเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์ 2. เทคนิคการสัมภาษณ์ แนะนำตนเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์ เตรียมคำถามให้ตรงประเด็น ชัดเจน มีลำดับ ถามคำถามให้ตรงกับผู้ที่รับผิดชอบ คำถามเปิดเหมาะสมกว่าคำถามปิด
สัมภาษณ์ใครบ้าง ผู้บริหาร / ทีมงาน คณาจารย์ บุคลากรสาย ข ค ลูกจ้าง บุคลากรสาย ข ค ลูกจ้าง คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง นิสิต / นักศึกษา ปัจจุบัน (จำแนกตามสาขาวิชาเอก ชั้นปี) ศิษย์เก่า
ข้อควรระวังในการสัมภาษณ์ ฟังด้วยอาการแสดงความสนใจ คิดวิเคราะห์ และจดบันทึกคำตอบ สายตาประสานกับผู้พูด
สรุป : การสัมภาษณ์ ใช้คำถามสั้นๆ อดทนฟัง จับประเด็น จดบันทึก อดทนฟัง จับประเด็น จดบันทึก อย่าถามในสิ่งที่ทราบแล้ว คำถามไม่ชี้นำคำตอบ ไม่ชวนทะเลาะ
3. เทคนิคการสังเกต ระมัดระวังเรื่องของกรอบเวลา 3. เทคนิคการสังเกต ระมัดระวังเรื่องของกรอบเวลา ตั้งใจค้นหาในสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ จดบันทึกในสิ่งที่ได้พบเห็น ( อาจสนับสนุน / ขัดแย้ง กับหลักฐานหรือข้อมูลใน SSR )
การรายงานผลการผลการตรวจสอบ( การให้ข้อมูล ) คือ การแจ้งผลการตรวจสอบ หรือการให้ข้อมูลป้อนกลับ แก่หน่วยงานที่รับการตรวจสอบ Written feedback Oral feedback
การเขียนรายงานผลการตรวจสอบ (Written feedback) รายนามคณะผู้ตรวจสอบ ชื่อหน่วยงานที่รับการตรวจสอบ วัน เดือน ปี ที่ตรวจสอบ ข้อมูลของหน่วยงานโดยสังเขป วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ
การเขียนรายงานผลการตรวจสอบ (Written feedback) ( ต่อ ) วิธีดำเนินงาน ผลการตรวจสอบคุณภาพ ข้อสังเกต / ข้อเสนอแนะ (เพื่อการพัฒนาในแต่ละ องค์ประกอบ) ลงนามรับรองโดยคณะกรรมการตรวจสอบ
หลักการเขียนรายงานผลการตรวจสอบ 1. เขียนเพื่อตอบวัตถุประสงค์การตรวจสอบให้ครบทุกข้อ 2. เขียนผลการตรวจสอบในเชิงสรุปจากการวิเคราะห์ข้อมูล และหลักฐานทั้งหมดที่ได้จากการอ่าน SSR การสัมภาษณ์ และการสังเกต 3. ให้ข้อมูลป้อนกลับ / ข้อเสนอแนะที่เป็นรูปธรรม หน่วย งานสามารถนำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดการพัฒนาได้
การรายงานผลการตรวจสอบ (Oral feedback) ( ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ) 1. คณะกรรมการตรวจสอบกำหนดเวลา และกำหนดตัวผู้ รายงาน 2. มีการติดประกาศแจ้งกำหนดการประชุมล่วงหน้า ( ต้องการ participation และ clarification ) 3. แจ้งผลการตรวจสอบในลักษณะของการประชุม โดยมีการ แนะนำตัว และแจ้งวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 4. ส่งรายงานให้กับหน่วยงานที่ขอรับการตรวจสอบ