การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
หมวด4 10 คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
Strategic Line of Sight
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
Continuous Quality Improvement
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน

หน่วยราชการนำร่อง ( Fast Track) 2550 ระดับกระทรวง : กระทรวงพลังงาน (ทุกหน่วยงานระดับกรมในกระทรวง) ระดับกรม : 9 กรม กรมการค้าภายใน กรมชลประทาน กพร. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สำนักปลัดกระทรวงวิทย์ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต ระดับจังหวัด : จังหวัดนครราชสีมา (30 ส่วนราชการภูมิภาคของจังหวัด)

หน่วยราชการนำร่อง ( Fast Track) 2550 PMQA : การให้ความรู้ (ทุกหน่วยงานในกรมชลประทาน) ครั้งที่ 1 : ส่วนที่1 : PMQA คืออะไร ส่วนที่2 : การจัดการเชิงกลยุทธ์ ส่วนที่3 : ประโยชน์ต่อส่วนราชการ ครั้งที่ 2 : ส่วนที่4 : องค์ประกอบของเกณฑ์ ส่วนที่5 : การเขียนรายงาน ส่วนที่6 : การประเมินตนเอง ส่วนที่7 : การวิเคราะห์/จัดลำดับความสำคัญ

การประเมินตนเอง (Self-Assessment) ส่วนที่ 6 การประเมินตนเอง (Self-Assessment) แต่ละคำถาม/รายหัวข้อ คะแนน จุดแข็ง จุดอ่อน (OFIs)

แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท WHAT มิติการประเมิน WHAT 1 การตอบได้ครบถ้วนตามประเด็นคำถาม 2 การตอบได้ถูกต้องตามประเด็นคำถาม 3 การนำเสนอข้อมูลได้อย่างชัดเจนตามความเป็นจริง

แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW มิติการประเมิน มิติย่อย A 1 การตั้งวัตถุประสงค์ การมีแนวทาง 2 การวางแผนดำเนินงาน 3 การวางแผนประเมินและตัวชี้วัด D 1 การปฏิบัติตามแผนดำเนินงาน การปฏิบัติ 2 ความรับผิดชอบของบุคลากร 3 ความมุ่งมั่นตั้งใจของบุคลากร L 1 การติดตามประเมินผลและการปรับปรุง การเรียนรู้ 2 การสรุปบทเรียนและสร้างนวัตกรรม 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับปรุง I 1 ความสอดคล้องของระบบจัดการ การบูรณาการ 2 การใช้ระบบตัววัด การประเมิน การปรับปรุง 3 การมีแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมาย

แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW มิติการประเมิน A D L I 1 การตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนที่เหมาะสมกับประเด็นหลักตามข้อกำหนดของเกณฑ์ 2 การวางแผนโดยอาศัยข้อมูลแล้วกำหนดขั้นตอน กรอบเวลาและผู้รับผิดชอบอย่างเป็นระบบ 3 การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ ผลในระหว่างการดำเนินงานและผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ รวมทั้งมีการกำหนดแผนการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบด้วย 1 การดำเนินงานตามแผนงานและขั้นตอนที่วางแผนไว้อย่างถูกต้องครบถ้วน 2 ความรับผิดชอบของบุคคลที่เกี่ยวข้องมีการกระทำตามที่กำหนดไว้ทุกคน 3 ความมุ่งมั่นตั้งใจของบุคคลที่เกี่ยวข้องมีความพยายามในการกระทำสู่ผลสำเร็จอย่างไม่ย่อท้อทุกคน 1 การประเมินผลลัพธ์เทียบกับค่าเป้าหมายทั้งตัวชี้วัดระหว่างการดำเนินงานและผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ ทำได้ครบทุกประเด็น 2 การสรุปบทเรียนที่ได้จากการดำเนินงานและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบทเรียนที่ได้ มีการกระทำอย่างเป็นระบบ 3 การนำบทเรียนไปสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อการแก้ไขปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดและต่อเนื่อง 1ความสอดคล้องที่ดีของการจัดการกระบวนการทั้ง 5 ขั้นตอน ได้แก่ กำหนดเป้าหมาย แผนงาน การปฏิบัติ การวัดประเมินผลลัพธ์ การเรียนรู้สู่การปรับปรุง 2 การบูรณาการกระบวนการทั้ง 3 ระบบคือ ระบบตัววัด ระบบประเมิน ระบบปรับปรุง ของกระบวนการนี้ ที่สอดคล้องและช่วยเสริมการทำงานให้กับกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้อง 3การมีแนวทางดำเนินงานหรือจัดการกระบวนการ ที่สอดคล้องและมุ่งสู่ผลสำเร็จตามความต้องการและเป้าหมายขององค์กร

Integration I Learning L Approach A Result Deployment D การประเมิน หมวด 1-6 ADLI Integration I PDCA Alignment Learning L Approach A Result Plan Check/Share/Act Deployment D Do

แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 LeTCLi Le T C Li ประเด็นพิจารณาตามเกณฑ์ 1 รายงานผลลัพธ์สำคัญเทียบกับค่าเป้าหมายในทุกตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ 2 ระดับผลลัพธ์ของการดำเนินงานบรรลุผลตามค่าเป้าหมายในทุกตัวชี้วัด 1 รายงานแนวโน้มของผลลัพธ์สำคัญเทียบจากข้อมูลย้อนหลังในอดีตทำได้ครบทุกตัวชี้วัด 2 ทิศทางแนวโน้มของผลลัพธ์การดำเนินงานมีทิศทางที่ดีหรือเหมาะสมในทุกตัวชี้วัด 1 รายงานการเปรียบเทียบผลลัพธ์สำคัญกับหน่วยงานอื่นในทุกตัวชี้วัด 2 ระดับของผลการเปรียบเทียบค่าผลลัพธ์กับหน่วยงานอื่น มีผลในระดับแนวหน้าของกลุ่ม ในทุกตัวชี้วัดที่สำคัญ 1 การรายงานได้ตัววัดที่ครอบคลุมครบถ้วนมีความสำคัญตามความต้องการหลักขององค์กร 2 ระดับผลลัพธ์ที่สามารถแสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและโครงการสำคัญขององค์กร

การประเมิน หมวด 7 LeTCLi Level Le Goal Linkage Li KRA KPI Trend T Trend Key Measure Compare C Benchmark

หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร

แนวทางประเมินผล หมวด 1 : 12 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 1 : 12 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (1) ก บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (2) 1.1 คะแนน (3) ข คะแนน (4) คะแนน (5) ค คะแนน (6) คะแนน (7) คะแนน (8) ก บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (9) คะแนน (10) 1.2 ข คะแนน (11) ค คะแนน (12)

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score

แนวทางประเมินผล หมวด 2 : 9 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 2 : 9 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (1) ก บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (2) 2.1 คะแนน (3) ข คะแนน (4) คะแนน (5) คะแนน (6) ก บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (7) 2.2 คะแนน (8) คะแนน (9) ข

หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เมาะสม ทันสมัย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ สนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ขอร้องเรียน 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย

แนวทางประเมินผล หมวด 3 : 11 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 3 : 11 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (1) ก 3.1 บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (2) คะแนน (3) คะแนน (4) คะแนน (5) ก คะแนน (6) 3.2 บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (7) คะแนน (8) คะแนน (9) ข คะแนน (10) คะแนน (11)

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ ความครอบคลุม .ความรวดเร็ว ความถูกต้อง ความทันสมัย ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ให้เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย KM IT IT

แนวทางประเมินผล หมวด 4 : 10 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 4 : 10 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (1) ก คะแนน (2) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ 4.1 คะแนน (3) คะแนน (4) ข คะแนน (5) คะแนน (6) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (7) ก 4.2 คะแนน (8) คะแนน (9) ข คะแนน (10)

หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อความคล่องตัว เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการแจ้งผล เพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR Scorecard

หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย ความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ ให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร 20.1การประเมินความพอใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR Scorecard

แนวทางประเมินผล หมวด 5 : 21 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 5 : 21 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (9) ก คะแนน (10) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (11) 5.2 คะแนน (12) คะแนน (13) ข คะแนน (14) คะแนน (15) คะแนน (16) ก คะแนน (17) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (18) 5.3 คะแนน (19) ข คะแนน (20) คะแนน (21)

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน

แนวทางประเมินผล หมวด 6 : 12 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 6 : 12 คำถาม คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ คะแนน (1) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (2) 6.1 คะแนน (3) ก คะแนน (4) คะแนน (5) คะแนน (6) คะแนน (7) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (8) 6.2 คะแนน (9) ก คะแนน (10) คะแนน (11) คะแนน (12)

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร (76)1 ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (77)2 ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (78)3 ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ (79)4 ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) (80)5 ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (81)6 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (82)7 ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน (83)8 ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน (84)9 ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก (85)10 ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย (86)11 ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ (87)12 ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล (88)13 ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร (89)14 ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร (90)15 ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม

แนวทางประเมินผล หมวด 7 : 15 คำถาม แนวทางประเมินผล หมวด 7 : 15 คำถาม 7.1 คะแนน (1) ก คะแนน (2) 7.2 คะแนน (3) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ ก คะแนน (4) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (5) คะแนน (6) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ คะแนน (7) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ 7.3 คะแนน (8) ก คะแนน (9) คะแนน (10) คะแนน (11) คะแนน (12) 7.4 คะแนน (13) ก คะแนน (14) คะแนน (15)

กราฟแสดงผลคะแนนระดับ หัวข้อ 17 หัวข้อ คะแนน หัวข้อ

กราฟแสดงผลคะแนนค่าเฉลี่ยระดับ หมวด 7 หมวด หมวด คะแนน

ตารางรายงานสรุป ระดับคำถามย่อย ประเด็นย่อย คะแนน 0-10 จุดแข็ง โอกาสในการปรับปรุง

ตารางรายงานสรุป ระดับหัวข้อ หัวข้อ : ………………………………… หัวข้อ : ………………………………… อ้างอิง จุดแข็ง อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง

การวิเคราะห์ การจัดลำดับ (OFIs) ส่วนที่ 7 การวิเคราะห์ การจัดลำดับ (OFIs) การทำแผนปรับปรุง การวิเคราะห์ผลการประเมิน การจัดลำดับความสำคัญ การจัดทำแผนปรับปรุงและรายงาน

ประเมินองค์กรด้วยตนเอง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง คือการนำ“โอกาสในการปรับปรุง”ที่พบกระจัดกระจาย จากการประเมิน มาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับความจำเป็น ความเร่งด่วน และทรัพยากรที่องค์กรมี ใช้หลัก Vital Few

ที่ก่อให้เกิดปัญหาจำนวนมาก Vital Few ! โอกาสการปรับปรุงที่ทำให้องค์กรมีสัมฤทธิผลสูงสุด ซึ่งก็คือการมุ่งความสนใจไปที่สาเหตุจำนวนน้อย ที่ก่อให้เกิดปัญหาจำนวนมาก

แนวทางการจัดลำดับความสำคัญ OFIs หมวด 1 ลำดับ 1.1 ลำดับ 1.2 ลำดับ 1.3 หมวด 2 ลำดับ 2.1 ลำดับ 2.2 ลำดับ 2.3 หมวด 3 ลำดับ 3.1 ลำดับ 3.2 ลำดับ 3.3

แนวทางการจัดลำดับความสำคัญ OFIs 1. ตารางการจัดลำดับความสำคัญแบบ 2 ปัจจัย 2. ตารางการถ่วงน้ำหนักโอกาสในการปรับปรุง 3. เครื่องมือ Affinity Diagram

แนวทางการกำหนด Vital Few เพื่อจัดลำดับความสำคัญ 1. ตารางแบบ 2 ปัจจัย ระดับผลกระทบหากไม่ดำเนินการ น้อย มาก ระดับ การปรับปรุง ง่าย ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ผลกระทบมาก ยาก ปรับปรุงยาก

แนวทางการกำหนด Vital Few เพื่อจัดลำดับความสำคัญ 2.ตารางแบบถ่วงน้ำหนัก โอกาสในการปรับปรุง เกณฑ์ในการคัดเลือกและน้ำหนัก งบประมาณ ระยะเวลา ผลลัพธ์ ต่อองค์กร คะแนนรวมตามน้ำหนัก 0.2 0.3 0.5 1.0 …

OFI 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 OFI 1 / / / 6 OFI 2 / / / 7 OFI 3 / / / 10 ความถี่ ของปัญหา โอกาสของความสำเร็จ คะแนน รวม ความรุนแรงของปัญหา OFI 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 OFI 1 / / / 6 OFI 2 / / / 7 OFI 3 / / / 10 OFI 4 / / / 9

แนวทางการกำหนด Vital Few เพื่อจัดลำดับความสำคัญ 3. ใช้เครื่องมือ Affinity Diagram

การทำแผนปรับปรุงองค์กร

การดำเนินการจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร ให้เลือก โอกาสในการปรับปรุง (OFIs) มาดำเนินการในปี 51 โดยมีแนวทางคัดเลือก เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการปรับปรุง มีงบประมาณรองรับดำเนินการ สอดคล้องกับแผนอื่นๆ ที่จะต้องดำเนินการอยู่แล้ว เช่น แผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง หรือแผนการจัดการความรู้

แนวทางการจัดทำแผนการปรับปรุง ศึกษา OFI โดยละเอียด พิจารณาปัจจัยเอื้อ/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ค้นหาสิ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลง (ปัจจัยเสี่ยง) ระวังผลกระทบ (รอบด้าน) ปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร - ทำให้บรรลุเป้าหมายใหม่ได้ (ถ้ามี KPI เดิม) - เวลาที่ต้องใช้ - ทรัพยากรที่ต้องใช้ - โอกาสที่จะสำเร็จ

ประเด็นในแผนการปรับปรุง (5W 2H) ทำไมต้องปรับปรุง (Why) หัวข้อที่ต้องการปรับปรุง (What) กำหนดเวลา (When) หน่วยงานที่ต้องปรับปรุง/ขอบเขตที่จะทำ (Where) ผู้รับผิดชอบและเกี่ยวข้อง (Who) วิธีการปรับปรุง (How) งบประมาณ (How much) เป้าหมายระยะสั้น/ระยะยาว (Target)

Template สำหรับแผนปรับปรุง หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้ทบทวน ชื่อโครงการ ผู้จัดทำ วันที่ทบทวน รายละเอียดโดยย่อ วันที่จัดทำ ผู้อนุมัติ เริ่มดำเนินการ แก้ไขครั้งที่ วันที่อนุมัติ ประเด็นโอกาสในการปรับปรุง ดัชนีชี้วัดหลัก (KPI)ของแผนงาน: กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา (เดือน) ปี 25…. ผลลัพธ์งาน/ ดัชนีความก้าวหน้า ผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้อง งบประมาณ หมายเหตุ                         1                                       2   3     หมายเหตุ : 1 2 รวมงบประมาณสะสม แผน จริง

แผนการปรับปรุง

รวมใจเป็นหนึ่ง เพื่อองค์กรของเรา Happy & enjoy