เมธี เอกะสิงห์ ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทิศทางการจัดการเรียน การสอนด้าน เกษตรศาสตร์ในระดับ สากล เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

1. 2 ความหมาย ของความพอเพียง สามห่วง สองเงื่อนไข : พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี : ความรู้ คุณธรรม ความพอเพียงของมหาวิทยาลัยเป็น เป้าหมายโดยคำนึงถึงความพอเพียง.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
ขอต้อนรับ ทีมคณาจารย์ มสธ. ที่เข้มแข็ง
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
PowerPoint ประกอบการบรรยาย การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา สพป. สิงห์บุรี วันที่ 26 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุมขุนสรรค์พันเรือง ศาลากลางจังหวัดสิงห์บุรี ประเด็น.
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
MK201 Principles of Marketing
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เมธี เอกะสิงห์ ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทิศทางการจัดการเรียน การสอนด้าน เกษตรศาสตร์ในระดับ สากล เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ การปฏิรูปคณะเกษตรศาสตร์ไปสู่การเป็นองค์กรในกำกับของรัฐ ” 3 มีนาคม 2546 ณ ห้องประชุมเล็ก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำถาม หลัก  อะไรคือแรงขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลง ?  ปรับองค์กรกันอย่างไร ?  หลอมรวมกันอย่างไร ?  ได้อะไรจากการเปลี่ยนแปลง ?  คณะเกษตรศาสตร์ มช. ควร เตรียมการอย่างไร ?

อะไรคือแรง ขับเคลื่อน ?

 งบประมาณลดลง ต้องพึ่งตนเองมากขึ้น  ความต้องการของสังคมและ ผู้ใช้เปลี่ยนไป  คำนึงถึงทรัพยากร สิ่งแวดล้อม  คำนึงถึงสุขภาพ ความ ปลอดภัยของ อาหาร แรงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ในมหาวิทยาลัยระดับสากล

งบประมาณประจำปีของ U. of Minnesota

 งบประมาณลดลง ต้องพึ่งตนเองมากขึ้น  ความต้องการของสังคมและ ผู้ใช้เปลี่ยนไป  คำนึงถึงทรัพยากร สิ่งแวดล้อม  คำนึงถึงสุขภาพ ความ ปลอดภัยของ อาหาร แรงขับเคลื่อน ( ต่อ )

 กระแสโลกาภิวัฒน์  กระแสธรรมาภิบาล  ความต้องการผู้ใช้บัณฑิต เปลี่ยนไป  เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง เร็ว  Biotechnology, Genomics  Information Technology

ปรับองค์กรกัน อย่างไร ?

การปรับเปลี่ยนที่ เกิดขึ้น :  ปรับโครงสร้างการจัดการ บริหาร  ปรับหลักสูตร  ปรับวิธีจัดการเรียน การสอน  ปรับระบบการจัดการงานวิจัยและบริการชุมชน

วิธีการปรับโครงสร้าง การบริหาร  ยุบคณะที่มีความ ต้องการลดลง  หลอมรวมคณะ หรือภาควิชา เข้าด้วยกัน  สร้างสถาบันหรือศูนย์วิจัย เฉพาะทางขึ้นใหม่

รูปแบบในการหลอมรวม เป็นอย่างไร ?

การปรับเปลี่ยนเล็กน้อย ( เปลี่ยน ชื่อภาควิชา )

ตัวอย่ าง Agricultural Engineering  Biosystems Engineering; Agricultural Systems Management Agricultural Economics  Food and Resource Economics; Agricultural and Consumers Economics Agronomy  Crop and Soil Science Agricultural Extension  Agricultural Communication

การหลอมรวมแบบที่ 1

Biology+Botany +Microbiology  Biological Sciences Agronomy+Horticulture  Plant Science Agronomy+Soil Science  Crop and Soil Science; Soil and Crop Science ตัวอย่างการหลอมรวมแบบที่ 1

การหลอมรวมแบบที่ 2 Interdisciplinary Program

การหลอมรวมแบบที่ 3

การหลอมรวมแบบที่ 4

ตัวอย่าง UPLB เดิม

Office of the Colleges Secretary Associate Dean for Research, Development and Extension Associate Dean for Instruction and Student Affairs Liaison and Alumni OfficeCA Foundation Coordinator for Distance Education and Diploma Program Central Experiment Station La Granja Experiment Station CA Publication Office DEAN Institute of Crop Science Institute of Plant Protection Institute of Animal/ Diary Science Agricultural Systems Institute Institute of Food Science โครงสร้างใหม่ของคณะ เกษตรศาสตร์ UPLB

ตัวอย่างการจัดหลักสูตรตามกระแสการเปลี่ยนแปลง

ได้อะไรจากการหลอม รวม ?

สิ่งที่ได้จากการ หลอมรวม :  ดึงดูดนักศึกษามากขึ้น  ได้องค์กรที่ตรงตามภาระกิจที่เปลี่ยนไป  ใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากขึ้น  มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น  ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร

การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน  เน้นทักษะด้าน  การสื่อสาร ( เขียน อ่าน อภิปราย และ เสนอผลงาน )  คิดและใช้ข้อมูลเชิงปริมาณเป็น  ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ( วางแผน และ ดำเนินกิจกรรมตาม เป้าหมาย )  วางยุทธศาสตร์เพื่อเรียนรู้ด้วยตนเองได้

การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน ( ต่อ )  เพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ใน หลักสูตร  Biotechnology  Ecology  Spatial Information Systems  Modeling and Simulation  Decision Making and Problem Solving  Consumer Science  Business and Management  Communication  Participatory Technique

 จัดการเรียนการสอน แบบใหม่  Students Center  Distance Learning  E-learning  Virtual Campus การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน ( ต่อ )

ตัวอย่างการจัดกระบวนวิชาเกษตร เบื้องต้นแนวใหม่

คณะเกษตรศาสตร์จะปรับเปลี่ยนอย่างไร ?

ก่อนหลอม รวม :  จัดทำแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan)  กำหนดหลักเกณฑ์ในการหลอมรวม  วิเคราะห์ความเป็นไปได้

แผนยุทธศาสตร์ของ U. of Minnesota

แผนยุทธศาสตร์ U. of Illinois

หลักเกณฑ์ในการ พิจารณาหลอมรวม  ดึงดูดความสนใจของนักศึกษา  มีความหมายทางวิชาการที่ชัดเจน  สอดคล้องกับพันธกิจ  การใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพขึ้น  ขจัดความซ้ำซ้อน  เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์และความ ร่วมมือกันในองค์กร  ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร

สรุป  แรงขับเคลื่อนที่ทำให้มีการปรับ องค์กรคณะ เกษตรศาสตร์ชั้นนำ ในระดับสากลมีลักษณะคล้ายคลึง กัน  ลักษณะการหลอมรวมแตกต่าง กันตามประวัติ การจัดตั้ง เอกลักษณ์ และจุดเน้น ของแต่ละแห่ง

สรุป  มีการปรับหลักสูตร และวิธีการเรียน การสอนใหม่อย่างเห็นได้ชัด ตาม ความต้องการของสังคม ประเด็น ปัญหาใหม่ และการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี  การปรับองค์กรทุกแห่งเกิดขึ้น ภายหลังจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยและคณะเกษตรศาสตร์