บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
โรงเรียนบ้านเชิงดอย(ดอยสะเก็ด) อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่
เรียนรู้สถาบันการเงิน
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
1.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
เงินเฟ้อ Inflation.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อัตราดอกเบี้ย (Interest Rates)
บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
นโยบายการเงิน รายวิชา : Week 05.
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การบริหารงานคลังสาธารณะ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
Strategic Line of Sight
ความเสี่ยงเรื่อง เงินตราต่างประเทศ
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ขดลวดพยุงสายยาง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
รายงานสถานการณ์E-claim
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST CLASSICAL THEORY OR THE SAVING INVESTMENT THEORY LOANABLE FUND THEORY LIQUIDITY PREFERENCE THEORY Irving Fisher 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

CLASSICAL THEORY OR THE SAVING INVESTMENT THEORY อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพถูกกำหนดโดยอุปทานของเงินทุน มีความสัมพันธ์กับอัตราดอกเบี้ยโดยตรง เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น อุปทานของเงินออมจะมากขึ้น และถ้าอัตราดอกเบี้ยลดลง อุปทานของเงินทุนก็จะลดลง 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

Loanable fund theory นำตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความเป็นจริงของระบบเศรษฐกิจมาประกอบการวิเคราะห์มากขึ้น อัตราดอกเบี้ยโดยแท้จริงแล้วไม่ได้จ่ายเพื่อการออม แต่เป็นการจ่ายสำหรับการให้กู้ อัตราดอกเบี้ยจึงถูกกำหนดโดยอุปทานของเงินให้กู้ (supply of loanable fund) กับอุปสงค์ของเงินขอกู้ (demand for loanable fund) 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

อุปทานของเงินให้กู้มีแหล่งที่มาสองแหล่งด้วยกัน ได้แก่เงินออม (saving : S) และการเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน (money supply : ∆M) อุปสงค์ของเงินขอกู้นั้น ที่สำคัญอันได้แก่ การลงทุน (invest : I) และการถือเงินไว้ในมือ (hoarding : H) ทฤษฎีปริมาณเงินให้กู้ดังที่กล่าวข้างต้นยังมิใช่ทฤษฎีการอธิบายระบบเศรษฐกิจรวม แต่เป็นทฤษฎีที่อธิบายเฉพาะส่วนของการตลาดสินเชื่อเท่านั้น 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

Liquidity preference theory John Maynard Keynes อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพในตลาดนั้นถูกกำหนดขึ้นจากเส้นอุปสงค์ที่ต้องการถือเงิน (demand for money) ตัดกับเส้นอุปทานของเงิน (supply of money) ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย (transaction demand) ความต้องการถือเงินไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน (precautionary demand) ความต้องการถือเงินไว้เพื่อเก็งกำไร (speculative demand) 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

Milton Friedman “ลัทธิการเงินนิยม” (Monetarism) เงินมิได้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและรักษามูลค่าเท่านั้น แต่ยังเป็นที่พักชั่วคราวของอำนาจซื้อด้วย อุปสงค์ของเงิน (Demand for money : Md) ขึ้นอยู่กับระดับราคาสินค้า ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ดอกเบี้ยพันธบัตร ผลตอบแทนการลงทุนในหลักทรัพย์ อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าคงทน อัตราส่วนระหว่างทรัพยากรมนุษย์ต่อความมั่งคั่งรวม รายได้ และความพึงพอใจ 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

ผลตอบแทนและมูลค่าของหลักทรัพย์ในตลาด อายุการไถ่ถอน สภาพคล่อง ความปลอดภัย การคิดมูลค่าปัจจุบันด้วยการทอนด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาด Pn = P0 (1 + i)n ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยกับราคาหลักทรัพย์จะผกผันกัน 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

ทุกคนรู้ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตเป็นอย่างไร ทฤษฎีดั้งเดิมหรือทฤษฎีแห่งการคาดคะเนของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยที่เกี่ยวกับระยะเวลาแห่งการไถ่ถอน (The traditional or expectation theory) F.A. Lutz ทุกคนรู้ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตเป็นอย่างไร ไม่มีค่าใช้จ่ายของการลงทุนทั้งจากผู้ให้กู้และผู้ขอกู้ มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์อย่างสมบูรณ์ทั้งผู้ให้กู้หรือผู้ขอกู้ 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

ทฤษฎีสภาพคล่องหรือค่าชดเชยแห่งความเสี่ยง (Liquidity or risk premium theory) ของโครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยที่เกี่ยวกับระยะเวลาแห่งการไถ่ถอน John R. Hicks หลักทรัพย์ที่มีระยะเวลาแห่งการไถ่ถอนยิ่งยาวนานเท่าใด ความเสี่ยงของเงินทุนของผู้ลงทุนก็ยิ่งจะมีมากขึ้นเท่านั้น ทฤษฎีการแบ่งส่วนตลาด (Market segmentation theory) ธนาคารพาณิชย์ ตามปกติมีความพอใจในการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีระยะสั้นหรือระยะปานกลาง บริษัทประกันชีวิต จะมีความพอใจลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาวมากกว่า 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

อะไรคือบทบาทของอัตราดอกเบี้ยกับการจัดสรรทรัพยากรของสังคมไทยบ้าง อะไรคือบทบาทของอัตราดอกเบี้ยกับการจัดสรรทรัพยากรของสังคมไทยบ้าง ? อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ทุกธนาคาร 14/04/60 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

INDIVIDUAL ASSIGNMENT SEARCH DATA , PICTURE & LOGO ABOUT COMMERCIAL BANK IN THAILAND IN POWER POINT PATTERN NEXT MONDAY MORNING ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี 14/04/60