หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC นำเสนอครั้งที่ 5 หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC 3.2 รีเลย์ช่วย (Auxiliary relay) และ แฟลก (Flag,Memory) จัดทำโดย สุพล จริน ห้องปฏิบัติการควบคุม CONTROL LAB EL06 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
แฟลก (Flag) และการใช้งาน ระบบควบคุมพื้นฐานมีเฉพาะอุปกรณ์อินพุทและอุปกรณ์เอ้าท์พุททำงานร่วมกันระบบควบคุมสมารถทำงานตามเงื่อนไขที่กำหนดได้ กรณีระบบควบคุมมีเงื่อนไขที่ซับซ้อนยุ่งยาก จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ช่วยการทำงานที่เรียก Flag หรือ Memory ช่วยจำสถานะต่างๆ ของอุปกรณ์ควบคุม หรือเหตุการณ์ต่างๆ เอาไว้ แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปควบคุมขบวนการอื่นต่อไป จุดประสงค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง Flag หรือ Memory และการนำไปใช้งานการเขียนโปรแกรม PLC
รีเลย์ช่วย (Auxiliary relay) รีเลย์ช่วยเป็นอุปกรณ์ควบคุม (Controller) ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในระบบควบคุมที่มีการทำงานซับซ้อนยุ่งยาก โดยที่รีเลย์ช่วยทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำ (Memory) จำสถานะ “0” หรือ “1” ของอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ หรือเหตุการณ์ต่างของวงจรควบคุมเอาไว้ เช่น สวิตช์กด S1 ทำหน้าที่ Start และ Stop ในตัวเดียวกัน A1 A2 11 12 23 24 31 43 32 44 Operating coil Auxiliary contact สัญลักษณ์รีเลย์ช่วย (Auxiliary relay)
Flag เป็นทรัพยากรภายใน PLC ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ CPU Flag / Memory Flag เป็นทรัพยากรภายใน PLC ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของ CPU การใช้งาน Flag ในการเขียนโปรแกรมคำสั่ง Flag ทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำ (Memory) โดยทำหน้าที่เก็บสถานะ “0” หรือ “1” ของอุปกรณ์ควบคุมหรือเหตุการณ์ต่างๆในวงจรควบคุมหรือใช้เก็บผลลัพธ์ของสัญญาณ Binary เอาไว้ ในบางครั้งผลลัพธ์ทางลอจิก RLO (Result of Logic Operation) จำเป็นต้องนำไปผ่านตัวกลางในการเก็บสถานะทาง Binary เพื่อที่จะนำไปใช้ในขบวนการอื่นต่อไป ในที่นี้ Flag / Memory เทียบได้กับรีเลย์ช่วยภายในที่เก็บผลลัพธ์ทาง Binary
Flag แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. Flag ประเภท Retentive memory : สามารถจำสถานะ “0” หรือ “1” ของตัวเองได้ในขณะที่ไม่มีแรงดัไฟฟ้าจ่ายให้กับ PLC และเมื่อแรงดันไฟฟ้ากลับเข้าสู่สภาวะปกติอีกครั้งสถานะของ Retentive memory ก็จะมีสถานะเดิม พื้นที่ใช้งาน F0.0-F63.7 ( ) F0.0
Flag แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 2. Flag ประเภท Non retentive memory : ไม่สามารถจำสถานะ “0” หรือ “1” ของตัวเองได้ในขณะที่ไม่มีแรงดันไฟฟ้าจ่ายให้กับ PLC โดยสถานะของเอ้าท์พุทและหน่วยความจำทั้งหมดจะถูก Reset เป็น “0” พื้นที่ใช้งาน F64.0-F255.7 ( ) F64.0
ตัวอย่างการใช้งาน Flag ประเภท Retentive memory ( ) I32.0 I32.1 Q32.0 เอ้าท์พุท Q32.0 จำสถานะ ตัวเองไม่ได้ ( ) I32.0 I32.1 F0.0 Q32.0 เอ้าท์พุท Q32.0 จำสถานะ ตัวเองได้ โดย F0.0
ตัวอย่างการใช้งาน Output ประเภท Non retentive memory ( ) I32.0 I32.1 Q32.0 โปรแกรม LAD ( ) I32.0 I32.1 Q32.0 หลังจาก I32.1 เป็น “1” ( ) I32.0 I32.1 Q32.0 เอ้าท์พุท Q32.0 จำสถานะตัวเองไม่ได้เมื่อแรงดันไฟฟ้ามาปกติ
ตัวอย่างการใช้งาน Flag ประเภท Retentive memory ( ) I32.0 I32.1 F0.0 Q32.0 หลังจาก I32.1 เป็น “1” ( ) I32.0 I32.1 F0.0 Q32.0 เมื่อไฟฟ้าดับ
ตัวอย่างการใช้งาน Flag ประเภท Retentive memory ( ) I32.0 I32.1 F0.0 Q32.0 แรงดันไฟฟ้ามาปกติ
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานรีเลย์ช่วย วงจร Latching relay เงื่อนไขการทำงาน S1 H1 - กด S1 และ K3A ทำให้รีเลยช่วย K2A ทำงานเท่ากับ “1” และ K2A ทำให้รีเลย์ช่วย K3A หยุดทำงานเท่ากับ “0” ผลทำให้หลอดไฟ H1 ดับ K3A K3A K1A K2A - รีเลย์ช่วย K1A และ K2A ทำงานตรงกันไม่ได้ - สลับการทำงานของรีเลย์ช่วย K1A และ K2A โดยรีเลย์ช่วย K3A - กด S1 และ K3A ทำให้รีเลยช่วย K1A ทำงานเท่ากับ “1” และ K1A ทำให้รีเลย์ช่วย K3A ทำงานเท่ากับ “1” ผลทำให้หลอดไฟ H1 ติด จงเขียนโปรแกรม PLC โดยภาษา LAD และ STL
วงจร Latching relay S1 K1A K2A K3 H1
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
S1 K1A K3 K2A
รีเลย์ช่วย K1A = F64.0 รีเลย์ช่วย K2A = F64.1 ตารางกำหนดสถานะและตำแหน่งอินพุท/เอ้าท์พุท ตัวแปรอินพุท สัญลักษณ์ สถานะทางตรรก ตำแหน่งอินพุท สวิตช์กด S1 กด S1 = 1 I32.0 ตัวแปรเอ้าท์พุท ตำแหน่งเอ้าท์พุท คอนแทคเตอร์ K3 ทำงาน K3 = 1 Q32.0 รีเลย์ช่วย K1A = F64.0 รีเลย์ช่วย K2A = F64.1
โปรแกรม Latching relay การใช้งาน Flag ประเภท Non-retentive memory Q32.0 I32.1 ( ) F64.0 F64.1 H1
โปรแกรม Latching relay การใช้งาน Flag ประเภท Non-retentive memory Q32.0 ( ) F64.0 F64.1 I32.1 H1
การปรับ Ladder diagram หลังการทำ Simplify แล้ว ( ) F64.0 F64.1 Q32.0 H1
โปรแกรม Statement list O.N Q32.0 O. F64.0 A I32.0 AN F64.1 = F64.0 O. Q32.0 O. F64.1 AN F64.0 = F64.1 = Q32.0
โครงสร้างของวงจรควบคุม โครงสร้างของโปรแกรม PLC อุปกรณ์อินพุท (Input devices) สวิตช์กด S1 อินพุทโมดูล (Input module) I32.0 อุปกรณ์ควบคุม (Controller) รีเลย์ช่วย K1A รีเลย์ช่วย K2A Controller Flag F64.0 Flag F64.1 อุปกรณ์เอ้าท์พุท (Output devices) คอนแทคเตอร์ K3 เอ้าท์พุทโมดูล (Output module) Q32.0
1. F10.2 เป็น Flag หรือ Memory ประเภทใด คำถาม 1. F10.2 เป็น Flag หรือ Memory ประเภทใด ตอบ : Retentive memory 2. F100.5 เป็น Flag หรือ Memory ประเภทใด ตอบ : Non retentive memory
THE END