การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (SWOT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ของการบริหารแฟรนไชส์ 7-Eleven
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ระบบเศรษฐกิจ.
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (SWOT) จุดแข็ง (Strange) จุดอ่อน (WEAK) โอกาส (Opportunity) ปัญหา และอุปสรรค (TREAT)

สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ธุรกิจแบบใด ขนาดธุรกิจ นโยบายของบริษัท ยอดขายและส่วนแบ่งตลาด เงินทุน ทรัพยากรบุคคล สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร คู่แข่งขัน สภาพเศรษฐกิจ นโยบายรัฐ เทคโนโลยี

แฟรนไชส์ แฟรนไชส์ (Franchise) คือ สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับ ผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้ จะครอบคลุมระบบเกือบ ทั้งหมดเพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจการนั้นสามารถทำธุรกิจได้แม้จะไม่มีประสบการณ์มาเลย แฟรนไชส์จึงหมายถึงกลยุทธ์ทางธุรกิจหรือตลาดในการกระจายสินค้า หรือบริการสู่ผู้บริโภคโดยหน่วยธุรกิจซึ่ง ประสบความสำเร็จและต้องการขยายการจำหน่ายสินค้า หรือบริการของตน (บริษัทแม่) โดยผ่านหน่วยค้าปลีก (บริษัทสมาชิก) ซึ่งเป็นผู้ประกอบการอิสระ และทั้งสองฝ่ายได้ทำสัญญาหรือข้อตกลงร่วมกัน ภายใต้เครื่องหมายการค้าหรือบริการ เทคนิคการตลาดและอำนาจของบริษัทแม่ ในการควบคุมหน่วยธุรกิจนั้นเพื่อแลก กับการได้รับชำระค่าธรรมเนียม และค่ารอยัลตี้ (กำไรบางส่วน) จากบริษัทสมาชิก ดังกล่าว

ประวัติความเป็นมาของแมคโดนัลด์ แมคโดนัลด์ คอร์เปอร์เรชั่น (McDonald’s Corporation) เป็น องค์กรธุรกิจด้านบริการอาหารที่ใหญ่ที่สุดของโลก ประกอบด้วยสาขาทั้งหมดกว่า 14,000 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งใน สหรัฐอเมริกา โดยยึดหลักการให้บริการอาหารที่มีคุณภาพสูงในราคาคุ้มค่า บริษัทฯ เป็นผู้บุกเบิกและสร้างมาตรฐานให้กับบริการอาหารประเภท Quick Service Restaurant ทั้งในเรื่องของเทคโนโลยี เทคนิคด้านการตลาด และระบบการบริหารงาน แมคโดนัลด์ก่อตั้งขึ้นโดย มร.เรย์ คร๊อค (Ray Kroc) ซึ่งเกิดในตระกูลชนชั้นกลางในบริเวณภาคตะวันตกตอนกลาง (Mid Weat) ของสหรัฐอเมริกา เขาออกจากโรงเรียนตั้งแต่ยังเรียนชั้นมัธยมต้นเริ่มทำงานครั้งแรก โดยเป็นนัดเปียโนในบาร์เล็ก ๆ

แล้วเป็นพนักงานขายบ้านและที่ดิน ขายถ้วยกระดาษ (ซึ่งยังเป็นของใหม่อยู่ในขณะนั้น) จนกระทั่งขายเครื่องปั่น Multi-Mixer ที่สามารถปั่นมิลค์เชคได้ คราวละ 5 ถ้วย ในระหว่างที่เขาขายเครื่องปั่น Multi-Mixer อยู่นั้น เขาก็ได้ พบลูกค้ารายหนึ่งซึ่งนำความประหลาดใจมาให้เขาเป็นอันมาก เพราะลูกค้ารายนี้ได้สั่งซื้อเครื่องปั่นถึง 8 เครื่อง สำหรับใช้ในร้านอาหารเพียงร้านเดียว และลูกค้านั้นก็ คือ ร้านแฮมเบอร์เกอร์แบบ ไดรฟ์ทรู ชื่อ แมคโดนัลด์ ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเล็ก ๆ ชื่อ ซาน เบอร์นาดิโน (San Bernadino) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ร้านแฮมเบอร์เกอร์ดังกล่าว เป็นของดิ๊ค และ มอริสพี่น้องตระกูลแมคโดนัลด์ ซึ่งได้พัฒนาระบบการผลิตย่อย ๆ ขึ้นมาในบ้าน โดยยึดหลักว่า “แฮมเบอร์เกอร์และเฟรนซ์ฟรายส์ทุกชิ้น

จะต้องมีคุณภาพและรสชาติอร่อยเหมือนกันและบริการด้วยความรวดเร็ว” ซึ่งหลักการดังกล่าว เป็นผลให้ลูกค้ามากมายนิยมมาซื้อแฮมเบอร์เกอร์จากร้านนี้โดยเฉพาะ ในครั้งแรก เรย์ คร๊อค ได้แนะนำให้พี่น้องแมคโดนัลด์นำหลักการนี้ไปใช้เปิดสาขาขึ้นทั่วสหรัฐฯ แต่พี่น้องทั้งสองไม่ต้องการรับภารกิจอันหนักในการขายกิจการ เขาจึงตัดสินใจร่วมลงทุนและเข้ามาบริหารงาน ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2498 เมื่อเรย์ได้ 52 ปี ร้านแมคโดนัลด์ร้านแรกของเขาได้ถือกำเนิดขึ้นใกล้เมืองชิคาโกและประสบความสำเร็จขยายสาขาต่อมาทั่วสหรัฐฯ จนในที่สุดเขาได้ซื้อกิจการจากพี่น้องแมคโดนัลด์ในราคา 2.7 ล้านเหรียญแต่นั้นมา เรย์ คร๊อค ก็ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งอุตสาหกรรมด้านบริการอาหาร Quick Service Restaurant

ประวัติ McDonald’s เชียงใหม่ แมคโดนัลด์สาขาเชียงใหม่พาวิลเลี่ยน เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2538 ตั้งอยู่เลขที่ 145/26 ถ.ช้างคลาน ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100 หมายเลขโทรศัพท์ 0-5381-8511โทรสาร 0-5381-8512 เปิดบริการตั้งแต่เวลา 10:00 – 24:00 น. ทุกวัน ไม่มีวันหยุด แมคโดนัลด์สขาคาร์ฟูร์เชียงใหม่ เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2544 ตั้งอยู่เลขที่ 94 หมู่ 4 ถนนเชียงใหม่ – ลำปาง ต.หนองป่าครั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 5000 หมายเลขโทรศัพท์ 0-5385-0737 โทรสาร 0-5385-0737 เปิดบริการตั้งแต่เวลา 10:00 – 22:00 น. (วันอาทิตย์-พฤหัสบดี) และเวลา 10:00 – 22:30 น. (วันศุกร์,เสาร์)

McDonald’s เชียงใหม่ เป็นสาขาที่ 30 และสาขาที่ 82 ในระบบ McDonald’s ประเทศไทย ซึ่งมีกรรมการผู้จัดการ คือ นายภูมิใจ เลาจรัสแสง McDonald’s สาขาเชียงใหม่ เป็นสาขาแรกในประเทศไทยที่ใช้ระบบ Licensee หรือระบบผู้รับอนุญาตดำเนินการ ซึ่งต่างสาขาอื่น ๆ ที่บริษัท แมคไทย จำกัด เป็นผู้ดำเนินการเองแต่ทั้งนี้ การดำเนินงานทุกอย่างจะต้องเป็นไปตามกฎระเบียบของ McDonald’s International อย่างเคร่งครัด นั่นคือ เรายึดหลัก Q.S.C.&V ซึ่งเป็นหัวใจของการทำงานที่ McDonald’s อย่างเคร่งครัด

นโยบายหลักของแมคโดนัลด์ มีนโยบายหลักที่เหมือนกันคือ QSC&V มีความหมายว่า 1. Quality หมายถึง คุณภาพของอาหารที่ดีอย่างสม่ำเสมอ อาหารทุกชิ้นของแมคโดนัลด์มีการควบคุมคุณภาพ ดังจะเห็นได้จากการที่แมคโดนัลด์ มีฝ่ายตรวจสอบคุณภาพอาหาร ทำการตรวจสอบอาหารของแมคโดนัลด์ทุกสาขา ทุก ๆ สัปดาห์และทุก ๆ เดือน นอกจากนี้เพื่อเป็นการควบคุมอาหารให้มีความสด และอร่อยสำหรับลูกค้าอยู่เสมอ อาหารทุกอย่างของแมคโดนัลด์ หลังจากปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว จะถูกเก็บไว้ในที่เก็บอาหารชนิดพิเศษ (Tansfer Bin) เพื่ออุ่นอาหารเตรียม บริการแก่ลูกค้า ด้วยความร้อนอย่างเหมาะ และถูกควบคุมไม่เกินเวลาที่กำหนด (Holding Time)

3. Cleanliness หมายถึง ความสะอาดพนักงานทุกคนของแมคโดนัลด์ มีคติประจำใจ เหมือนกันอยู่อย่างหนึ่ง คือ “Clean as you go” สะอาดในทุก ๆ ที่ ที่ท่านอยู่ และเมื่อคุณออกจากที่ตรงนั้น พนักงานถูกสอนให้รักษาความสะอาด ในทุกที่ทุกเวลา ที่เขายู่ในร้านแมคโดนัลด์ Service หมายถึง การบริการที่รวดเร็วและเป็น มิตร พนักงานของแมคโดนัลด์ทุกคน ได้ถูกฝึกมาเป็น อย่างดี เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างรวดเร็ว เป็นมิตร และบริการที่ถูกต้องแม่นยำ ในการจัด อาหารตาม Order ที่แมคโดนัลด์เรามีเวลาเฉลี่ยมาตรฐาน ในการ บริการให้ลูกค้าภายใน 60 วินาที และมีการทดสอบ พนักงานอยู่สม่ำเสมอ

Value หมายถึง คุณค่าที่เรามอบให้ แมคโดนัลด์ตระหนักถึงความรู้ความคุ้มค่าทางคุณภาพ บริการ และราคา ทุกอย่างที่เรามอบให้ลูกค้าเลือกสรรแต่ที่ดีที่สุดเพื่อลูกค้าเสมอ

การดำเนินงาน การดำเนินงานของ McDONALD’S เชียงใหม่เปิดดำเนินงานมาเป็นปีที่ 9 จึงเรียกได้ว่ายังอยู่ในระยะเจริญเติบโต ดังนั้น การดำเนินงานจึงเป็นไปในรูปแบบของการแนะนำให้ลูกค้ารู้จัก Mc DONALD’S และกลับมาใช้บริการอีก การดำเนินงานในขั้นนี้ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นมักจะเป็นปัญหาในเรื่องของบุคลากรซึ่งยังไม่มีประสบการณ์หรือประสบการณ์ทำงานที่ยังน้อย จึงทำให้ข้อขัดข้องเล็ก ๆ น้อย ๆ เกิดขึ้นได้เสมอ ในส่วนปัญหาอื่น ๆ จึงไม่ค่อยจะมี การเปลี่ยนแผนการดำเนินงานจะมีการทบทวนแผนการดำเนิน (REVISE THE PLAN) เพื่อมีการปรับแต่งทุก 2 เดือน โดยมุ่งไปที่เป้าหมายใหญ่เป็นหลัก แผนการใหญ่ของการดำเนินงานจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่อาจจะมีการเปลี่ยนในรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้น

วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพการตลาดและสภาพแวดล้อม การตลาด FAST FOOD ในเชียงใหม่ เพิ่งจะเริ่มได้รับความนิยมระยะหลังนี้เอง ซึ่งแต่เดิมคนเชียงใหม่ยังไม่นิยมเข้าไปในร้านอาหาร แล้วบริการตัวเอง (SELF SERVE) แต่เนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เงื่อนไขกาสรดำเนินชีวิตที่ยุ่งยากมากขึ้น ประกอบการกับติดต่อสื่อสารในยุคโลกาภิวัฒน์ (GLOBALIZATION) ที่ทำให้คนได้รับข่าวสารได้เร็วขึ้นและดีขึ้น จึงทำให้ตลาด FAST FOOD ไม่เป็นของแปลกใหม่อีกต่อไป เชียงใหม่เป็นเมืองที่ผสมผสานของวัฒนธรรมที่ค่อนข้างลงตัว นั้นคือ

1. วัฒนธรรมการกินของท้องถิ่นที่เปิดกว้างและมีอกลักษณ์ในการใช้มือกับอาหารประเภท FAST FOOD ที่ใช้มือรับประทานจึงไม่ได้ทำให้การกินอาหารประเภทนี้ เป็นอาหารที่ไม่ยอมรับอีกต่อไป 2. ราคาที่ไม่แพง เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารท้องถิ่น (LOCAL FOOD) ซึ่งเดิมเคยถูกมองว่าเป็นอาหารที่ค่อนข้างแพง แต่เมื่อราคาอาหารของคนในท้องถิ่นปรับตัวสูงขึ้น จึงทำให้ช่องว่างของราคาลดลง กลุ่มลูกค้าที่ไม่เคยรับประทานอาหาร FAST FOOD ก็มีโอกาสทดลองมากขึ้น 3. ความสะอาด คุณค่า และคุณภาพ FAST FOOD ทุกประเภทที่ถูกเรียกว่าเป็นวัฒนธรรมตะวันตกนั้นได้นำเอาความรู้ (KNOW HOW) มาเผยแพร่ถึงขั้นตอนการผลิต การควบคุมการผลิตการควบคุมคุณภาพและเทคโนโลยีการผลิต (PRODUCTION TECHNOLOGY)

มาเผยแพร่ซึ่งทำให้ราคาสินค้า รสชาติและคุณค่าของอาหารที่สูงกว่าอาหารประเภท FAST FOOD อื่น ๆ เป็นที่ยอมรับอย่างรวดเร็ว 4. สถานที่ตั้ง การตกแต่งร้าน ความสะอาด การใช้เทคโนโลยี การสำรวจจัดเก็บข้อมูลและการวิจัยการตลาดอย่างละเอียด ทำให้การดำเนินงานของ FAST FOOD CHAIN สามารถเปิดดำเนินการงานได้ดีกว่า เพราะการมองเห็น (VISIBILITY) ดีกว่า การศึกษาถึงพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างเป็นรูปธรรม มีการเตรียมการที่ดีในเรื่องของกิจกรรมส่งเสริมการขาย โดยการเชิญชวนให้เข้าชมขบวนการการผลิต ครัว ก็เป็นการสร้างความมั่นใจแก่ลูกค้าในระยะยาวที่มาใช้บริการ

การแข่งขัน การแข่งขันของอุตสาหกรรม FAST FOOD ในจังหวัดเชียงใหม่ยังไม่รุนแรง เนื่องจากกลุ่มลูกค้าหลักและกลุ่มลูกค้ารองยังมีจำนวนมากพอ และจำนวนของจุดขาย (OUTLET) ยังน้อย 1. กลุ่มลูกค้าหลัก คือ กลุ่มคนท้องถิ่น ซึ่งกลุ่มนี้ยังแบ่งย่อย คือ 1.1. กลุ่มวัยรุ่น นักศึกษา 1.2. กลุ่มคนทำงาน (YUPPIES) 1.3. กลุ่มเด็กนักเรียน และผู้ปกครอง 2. กลุ่มลูกค้ารอง คือ กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ซึ่งกลุ่มนี้จะเป็นตัวแปรในการกระตุ้นยอดขายกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น การลด แลก แจก แถม การโฆษณาจะไม่มีผลต่อการกระตุ้นการซื้อของลูกค้ากลุ่มนี้ การซื้อ (ยอดขาย) จะเป็นการซื้อ เพราะรู้จักสินค้าอยู่ก่อนแล้ว