ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Advertisements

Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
Windows xp starter Edition ซอฟแวร์เพื่อคนไทย ซ. windows xp starter Edition คืออะไร Windows xp Starter Edition เป็นความ ร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลไทยกับ ไมโครซอฟท์ที่ต้องการให้ผู้ใช้งาน.
ฐานข้อมูล.
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล (Database System)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล (Database System Concepts)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ความรู้พื้นฐานเรื่องเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูล ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองและหน่วยความจำหลัก

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ความรู้พื้นฐานเรื่องเขตข้อมูล ระเบียน และแฟ้มข้อมูล เขตข้อมูล คือ การนำเอาอักขระหลายๆตัวรวมกัน โดยมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า ฟิลด์ (Field) ระเบียน คือ กลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน หรืออาจเรียก อีกอย่างหนึ่งว่า เรคอร์ด (Record)

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ชนิดของข้อมูล มีหลายรูปแบบดังนี้ คือ ข้อมูลแบบรูปแบบ เป็นข้อมูลที่รวมอักขระเป็นรูปแบบที่ แน่นอน อาจอยู่ในรูปของรหัส ซึ่งต้องตีความหมายอีกครั้ง ข้อมูลแบบข้อความ เป็นข้อมูลที่เป็นอักขระในแบบข้อความ โดยไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ความหมายจะอยู่ในข้อความ ข้อมูลแบบภาพลักษณ์ เป็นข้อมูลที่เป็นภาพหรือเป็นกราฟ ข้อมูลแบบเสียง ข้อมูลแบบภาพและเสียง เป็นการจัดเก็บภาพและเสียงไว้ รวมกัน

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ลักษณะของระบบแฟ้มข้อมูล ระเบียนขนาดคงที่ ระเบียนที่มีความยาวแปรได้ การจัดการแฟ้มข้อมูล การสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุง รักษาแฟ้มข้อมูล

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมูล แฟ้มข้อมูลหลัก แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง แฟ้มข้อมูลตาราง แฟ้มข้อมูลเรียงลำดับ

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล แบบลำดับ แบบลำดับตามดัชนี แบบสัมพัทธ์

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ชนิดและคุณสมบัติของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองและหน่วยความจำหลัก ชนิดของหน่วยความจำหลัก ชนิดของหน่วยความจำสำรอง

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ชนิดของหน่วยความจำหลัก แรม ไดนามิกแรม สแตติกแรม รอม พรอม อีพรอม อีอีพรอม

แนวคิดเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล ชนิดของหน่วยความจำสำรอง เข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง เช่น จานบันทึกแม่เหล็ก, ออพติคัลดิสก์, พีซีเอ็มซีไอเอ เข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ เช่น เทปแม่เหล็ก

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความจำเป็นที่ทำให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความจำเป็นที่ทำให้เกิดการใช้งานโดยระบบฐานข้อมูล การประมวลผลกับระบบแฟ้มข้อมูลยุ่งยาก แฟ้มข้อมูลไม่มีความเป็นอิสระของข้อมูล แฟ้มข้อมูลมีความซับซ้อนมาก แฟ้มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลน้อย แฟ้มข้อมูลมีความปลอดภัยน้อย ไม่มีการควบคุมจากศูนย์กลาง

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล ฐานข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การบริหารฐานข้อมูล หน้าที่ของผู้บริหารฐานข้อมูล กำหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล กำหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลละวิธีการเข้าถึงข้อมูล กำหนดขอบเขตการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน รักษาความถูกต้องของข้อมูล การป้องกันและการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูล ทำได้สะดวก สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ มีความเป็นอิสระของข้อมูล สามารถขยายงานได้ง่าย ทำให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้อย่างรวดเร็วและมีมาตรฐาน

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ข้อมูล ฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่ดังนี้ คือ ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้งาน ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูล ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้งานพร้อมกันหลายคน

แนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ประโยชน์ของระบบจัดการฐานข้อมูล ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล รักษาความถูกต้องของข้อมูล มีความเป็นอิสระของข้อมูล มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ใช้ข้อมูลร่วมกันโดยมีการควบคุมจากศูนย์กลาง

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ระดับของข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบของฐานข้อมูล

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ระดับของข้อมูล ระดับชั้นของระบบจัดการฐานข้อมูล มี 4 ระดับ ระดับภายนอก ระดับหลักการ ระดับภายใน ระดับโครงสร้างที่แท้จริง

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ความเป็นอิสระของข้อมูล แนวคิดเชิงกายภาพและตรรกะ การออกแบบฐานข้อมูล วิวกับการแปลงรูป

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบของฐานข้อมูล ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นภาษาที่ใช้ในการกำหนด Schema ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) เป็นภาษาที่ใช้ในการจัดการข้อมูลภายในระบบ ฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) เป็นภาษาที่ใช้ในการควบคุมความถูกต้องและ ความปลอดภัยของข้อมูล

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model)

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) โครงสร้างของฐานข้อมูลเป็นความสัมพันธ์แบบพ่อลูก เรคอร์ดพ่อมีเรคอร์ดลูกได้หลายเรคอร์ด แต่เรคอร์ดลูกมีเรคอร์ดพ่อได้เรคอร์ดเดียว ตัวอย่างของภาษาปฏิบัติการ คือ IMS/VS

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) ลักษณะเด่น เป็นระบบฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด มีค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างฐานข้อมูลน้อย ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นลำดับ ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Data Model) ข้อจำกัด มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากที่สุด ขาดความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลในรูปของเครือข่าย มีความคล่องตัวน้อยกว่า เพราะต้องอ่านแฟ้มที่เป็นต้นกำเนิดก่อน

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) โครงสร้างของข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบร่างแห ตัวอย่างของภาษาปฏิบัติการ คือ IDMS

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Data Model) ลักษณะเด่น เหมาะสำหรับงานที่แฟ้มข้อมูลมีความสัมพันธ์แบบเครือข่าย มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้อยกว่าแบบลำดับชั้น การค้นหาข้อมูลมีเงื่อนไขได้มากและกว้างกว่าแบบลำดับชั้น ข้อจำกัด ป้องกันความลับของข้อมูลได้ยาก มีค่าใช้จ่ายและสิ้นเปลืองมากกว่า ถ้าความสัมพันธ์มีมากเกินไป จะทำให้ออกแบบฐานข้อมูลมีความยุ่งยากซับซ้อน

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model) โครงสร้างของฐานข้อมูลอยู่ในรูปของรีเลชัน หรือ ตาราง ประกอบด้วยแถว (Tuple) และสดมภ์ (Attribute) การควบคุมความถูกต้อง Tuple มีข้อมูลไม่ซ้ำกัน Tuple ไม่มีลำดับจากบนลงล่าง Attribute ไม่มีลำดับจากซ้ายไปขวา ค่าของ Attribute ทุกค่าจะต้องเป็น atomicity ตัวอย่างของภาษาปฏิบัติการ คือ SQL

แนวคิดฐานข้อมูลแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Data Model) ลักษณะเด่น เหมาะสำหรับงานเลือกดูข้อมูลแบบหลายฟิลด์ข้อมูล ป้องกันข้อมูลถูกทำลายหรือแก้ไขได้ดี การเลือกดูข้อมูลทำได้ง่าย ข้อจำกัด แก้ไขปรับปรุงข้อมูลทำได้ยาก มีค่าใช้จ่ายของระบบสูงมาก