1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ติดตามงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ปีงบประมาณ พ. ศ กลุ่มงาน / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดราชบุรี
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
PMQA Organization PMQA 2550 หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
1 การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การ สู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
รายงานสรุปผลการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

2 น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ วัดความสำเร็จการบรรลุเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ วัดความสำเร็จการบรรลุเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ 2553

 มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม

 กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level

 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและ สามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อ ความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรม  กำหนดให้เลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ จำนวน 2 ตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ (ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.5)  หากส่วนราชการจะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม สามารถดำเนินการได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด (ค่าน้ำหนักคะแนนรวมกันไม่เกิน 0.2)  หากส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดผลลัพธ์ตาม แผนพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการจะเป็น ดังนี้ -ตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ (2 ตัวชี้วัด) จะเหลือค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.4 -ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดเพิ่มเติม 0.2 -ผลรวมค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดผลลัพธ์ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 1  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและ สามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อ ความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรม  กำหนดให้เลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ จำนวน 2 ตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ (ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.5)  หากส่วนราชการจะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม สามารถดำเนินการได้ไม่เกิน 2 ตัวชี้วัด (ค่าน้ำหนักคะแนนรวมกันไม่เกิน 0.2)  หากส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติม ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดผลลัพธ์ตาม แผนพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการจะเป็น ดังนี้ -ตัวชี้วัดผลลัพธ์แนะนำ (2 ตัวชี้วัด) จะเหลือค่าน้ำหนักตัวชี้วัดละ 0.4 -ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดเพิ่มเติม 0.2 -ผลรวมค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดผลลัพธ์ทั้งหมดรวมกันจะเท่ากับ 1

แนวทางการกำหนดผลลัพธ์หมวด 7 ปี 52 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวด หมวด 7 = ตัวชี้วัด ตาม คำรับรองฯ + ตัวชี้วัดของ เครื่องมือต่างๆ ที่ ส่งเสริม ปี 53 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวด หมวด 7 = ตัวชี้วัด ที่สะท้อนผลลัพธ์ ของหมวดที่ไม่ได้ ดำเนินการ ปี 54 ประเมินตามเกณฑ์ FL 2 หมวดที่เหลือ หมวด 7 = ตัวชี้วัด ที่สะท้อนผลลัพธ์ ทุกหมวด ปี 55 ประเมินตามเกณฑ์ Successful Level ปี 56 ประเมินตามเกณฑ์ PMQA เล่มเหลือง หมวด 7 = ตัวชี้วัดที่ สะท้อนผลลัพธ์ของ ทุกหมวด ตาม 4 มิติ ในเกณฑ์ PMQA 15 ประเด็น

7 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

8 การประเมินผลตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 11.1ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ หมวด11.3ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ของผลลัพธ์ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการ ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ใน หมวดที่ส่วนราชการดำเนินการไม่ผ่าน เกณฑ์ฯในปีงบประมาณ พ.ศ ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (2 แผน) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการของส่วนราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4

10 ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1แผนที่ 2รวม ร้อยละของการผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (วัด กระบวนการในการดำเนินการ พัฒนาองค์การในหมวดที่ ดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ.2553) 448 การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของการผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับและ หมวดภาคสมัครใจ) ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา จากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับ จำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์ การให้คะแนน เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่

11 แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จ ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด

ติดตามความ เคลื่อนไหวและ ข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553 Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553