โดย ครูอลิศรา พูลทอง ที่มาและความสำคัญของ ปัญหา  นักเรียนส่วนใหญ่ส่งงานไม่ตรงตามกำหนดเวลา บางส่วนอาจจะไม่ส่งงานเลย นักศึกษา ทั้งหมด ( คน ) การส่งงานของนักศึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนิเทศการสอนแบบคลินิก
Advertisements

วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายมงคล ธัญฤชุพงศ์ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
โดย ครูวินิญากรณ์ วัตรสติ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
การเป็น วิทยากรกระบวนการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียนชั้น ปวช.ปีที่ ๒ สาขาการบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
Seminar 1-3.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ครูอลิศรา พูลทอง

ที่มาและความสำคัญของ ปัญหา  นักเรียนส่วนใหญ่ส่งงานไม่ตรงตามกำหนดเวลา บางส่วนอาจจะไม่ส่งงานเลย นักศึกษา ทั้งหมด ( คน ) การส่งงานของนักศึกษา ( คน ) ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ส่งงาน เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษา อนึ่ง เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการส่ง รายงานจากการพิมพ์ ที่ง่ายต่อการคัดลอก มา เป็นการส่งรายงานโดยการเขียนด้วยลายมือ ของผู้เรียน

วัตถุประสงค์การวิจัย  เพื่อแก้ปัญหาการส่งงานไม่ตรงตาม กำหนดเวลา และการไม่ส่งงานของ นักศึกษา

การทำรายงาน ด้วยวิธีการเขียน โดยกระบวนการ กลุ่ม ประสิทธิผลของ การเรียน กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

วิธีดำเนินการวิจัย  อภิปรายซักถามเกี่ยวกับปัญหาการส่งงานไม่ตรง ตามกำหนดเวลาและการไม่ส่งงานของนักศึกษา  แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 3-4 คนโดยแต่ ละกลุ่มจะประกอบด้วยนักศึกษาที่เรียนเก่ง เรียน ปานกลาง และเรียนไม่เก่ง คละกันในทุกกลุ่ม  ให้แต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายสรุป วิธีดำเนินการแก้ไข ปัญหาการส่งงานไม่ตรงตามกำหนดเวลาและการ ไม่ส่งงาน โดยบันทึกเป็นมติ ข้อตกลง และ / หรือ มาตรการ ของกลุ่ม  จัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่มตามแผน จัดการเรียนรู้วิชาอาหารไทยโดยนักศึกษาแต่ละ กลุ่มปฏิบัติงานร่วมกันและจดรายงานเป็น รายบุคคลและส่งหลังจากจบชั่วโมง แล้วนักศึกษา ในกลุ่มจะแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในการช่วยกัน ประเมินผลงานการเขียนรายงานด้วยมือเป็น รายบุคคล  จากนั้นสมาชิกในกลุ่มทุกคนส่งรายงาน โดยครู พิจารณาตรวจประเมินให้คะแนนผลงานของทุก คน ทุกคนในกลุ่มจะมีงานส่งและมีคะแนนหลัง หมดคาบเรียนทุกครั้ง

เครื่องมือวิจัย  แผนจัดการเรียนรู้วิชาอาหารไทย  แบบประเมินผลงานรายบุคคล โดยแต่ละ กลุ่มแลกเปลี่ยนประเมินผลงานซึ่งกันและ กัน  แบบบันทึกคะแนนเก็บของนักศึกษา  แบบสรุปการส่งงานของนักศึกษา

ผลการวิจัย การส่งรายงานของนักศึกษา หลังจัดการเรียนรู้ด้วย กระบวนการกลุ่ม ปรากฏผลดังนี้ นักศึกษา ทั้งหมด ( คน ) การส่งงานของนักศึกษา ( คน ) ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ส่งงาน เปรียบเทียบก่อน - หลังแก้ปัญหาไม่ส่งงานของ นักศึกษาด้วยกระบวนการกลุ่ม นักศึก ษา ทั้งหม ด ( คน ) การส่งงานของนักศึกษา ( คน ) ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ตรงตาม กำหนดเวลา ไม่ส่งงาน ก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลัง

สรุปผลการวิจัย  จากการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม พบว่า การส่งงานของนักศึกษาดีขึ้นมาก ดังนี้  นักศึกษาส่งงานตรงตามกำหนดเวลาถึง 30 คน ซึ่งแต่เดิมมีเพียง 6 คน  นักศึกษาส่งงานไม่ตรงตามกำหนดเวลาเหลือ เพียง 5 คน ซึ่งแต่เดิมมากถึง 14 คน  นักศึกษาไม่ส่งงานเลยไม่มี แต่เดิมมีถึง 17 คน เหลือเพียง 2 คน

ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้และ การวิจัยครั้งต่อไป 1. การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม การ จัดการเรียนรู้ด้วยการให้นักศึกษาเขียน รายงานและส่งงานเป็นรายหน่วยทำให้ ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาการเรียนดีขึ้น เพราะนอกจากจะไม่มีงานค้างแล้วยังทำให้ เข้าใจเนื้อหาการเรียนและเป็นการเพิ่ม ความรู้ให้กับนักศึกษา ผลการเรียนเป็นที่น่า พอใจมากขึ้น 2. ในการวิจัยครั้งต่อไปจะนำไปใช้ในรายวิชา อื่นๆ ต่อไป