การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information system development
เนื้อหาประจำบท ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ การเปลี่ยนโอนระบบสารสนเทศ การประเมินระบบสารสนเทศ
ระบบ เครือข่าย คอมพิวเตอ ร์และ โทรคมนาค ม ทบทวน ระบบ สารสนเทศ ฐานข้อมูล กระบวนก าร บุคลากร ระบบ เครือข่าย คอมพิวเตอ ร์และ โทรคมนาค ม ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์
ความจำเป็นในการพัฒนาระบบ
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ การกำหนดปัญหา (Problem Definition) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การออกแบบระบบ (System Design) การสร้างระบบ / พัฒนาระบบ (System Construction) การติดตั้งระบบ (System Implementation) การประเมินผลและบำรุงรักษาระบบ (Evaluation and Maintenance)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดปัญหา (Problem definition) หาปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กร / ความต้องการของผู้ใช้ ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด โดยต้อง หาเป้าหมายในการทำโครงการ หาขอบเขตของโครงการ (กำหนดกิจกรรมที่ทำให้ระบบงานเปลี่ยนแปลงได้) จำนวนเงินทุน ระยะเวลา และบุคลากรที่ต้องใช้
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) หาแนวทางและความเป็นไปได้ในการทำโครงการ สามารถแก้ปัญหาโดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาให้น้อยที่สุด การศึกษาความเป็นไปได้ ต้องพิจารณาปัจจัย 3 ประการ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (technically feasibility) ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติ (operational feasibility) ความเป็นไปได้ด้านการลงทุน (economic feasibility)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ระบบ (System analysis) ศึกษาระบบงานเดิม (หรืองานปัจจุบัน) = ทำงานอย่างไร ทำอะไรบ้าง มีปัญหาใด ต้องการให้เปลี่ยนแปลงอย่างไร ทำการรวบรวมข้อมูล โดย ศึกษาเอกสาร สังเกตการทำงาน ทำแบบสอบถาม สัมภาษณ์ เมื่อวิเคราะห์แล้ว จะได้ข้อมูล เช่น รายละเอียดการทำงานของระบบเดิม ความต้องการหรือเป้าหมายของระบบใหม่ ประมาณการต้นทุน-กำไร ในการดำเนินงานตามระบบงานใหม่
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบระบบ (System design) เป็นการเสนอระบบใหม่ (ทั้งกระบวนการทำงานและอุปกรณ์) แบ่งว่าส่วนใดสามารถทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ ส่วนใดยังคงทำงานด้วยมือ ผู้ออกแบบระบบมักต้องทำงานร่วมกับผู้ใช้
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 5 การสร้างระบบ หรือพัฒนาระบบ (System construction) เริ่มเขียนและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับระบบ และสร้างฐานข้อมูล จะได้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือระบบสารสนเทศมาใช้งาน ควรมีการทำคู่มือการใช้งานหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ใช้ด้วย
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 6 การติดตั้งระบบ (System implementation) แบ่งเป็นรูปแบบการติดตั้งได้ 4 รูปแบบ ติดตั้งแบบขนาน (Parallel Conversion) ปรับเปลี่ยนแบบทันที (Direct Changeover) เปลี่ยนโอนทีละขั้น (Phased Conversion) ติดตั้งแบบทดลอง (Pilot Conversion)
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 6 การติดตั้งระบบ (System implementation) Parallel Direct Phased Pilot Valacich and Schneider. Information systems today. 5th Harlow : Pearson, 2012.
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผลและบำรุงรักษาระบบ (post implementation reviews and maintenance) เริ่มทำเมื่อติดตั้งระบบใหม่มาระยะเวลาหนึ่ง ตรวจสอบว่าสามารถใช้งานตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้หรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ การกำหนดปัญหา (Problem Definition) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การออกแบบระบบ (System Design) การสร้างระบบ / พัฒนาระบบ (System Construction) การติดตั้งระบบ (System Implementation) การประเมินผลและบำรุงรักษาระบบ (Evaluation and Maintenance)
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ รูปแบบในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน เพื่อสร้างระบบงานใหม่ แบ่งได้ 3 วิธี พัฒนาตามวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC-System Development Life Cycle) การใช้เทคนิคโปรโต้ไทพ์ปิง (Prototyping) การพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว (Rapid Development)
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 1 การพัฒนาตามวงจรพัฒนาระบบ (SDLC-System Development Life Cycle)
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 1 การพัฒนาตามวงจรพัฒนาระบบ (SDLC-System Development Life Cycle)
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 1 การพัฒนาตามวงจรพัฒนาระบบ (SDLC-System Development Life Cycle) ข้อจำกัด ไม่สามารถปรับเปลี่ยนความต้องการระหว่างที่มีการพัฒนาได้ การเปลี่ยนแปลงแต่ละขั้นจะกระทบกับขั้นตอนอื่น ๆ ผู้ใช้จะมีส่วนร่วมน้อยมาก จำเป็นต้องวางแผนการทำงานให้เหมาะสม หากขั้นตอนใดล่าช้าอาจส่งผลให้ขั้นตอนอื่นล่าช้าด้วย
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 2 การใช้เทคนิคโปรโต้ไทพ์ปิง (Prototyping) หรือการใช้ต้นแบบ
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 2 การใช้เทคนิคโปรโต้ไทพ์ปิง (Prototyping) หรือการใช้ต้นแบบ วินิจฉัยปัญหา (identify problem) ความต้องการเริ่มต้น พัฒนาต้นแบบ(develop prototype) ความต้องการใหม่ เปลี่ยนจากต้นแบบเป็นงานจริง (convert to operational system) ต้นแบบระบบ ต้นแบบทำงานได้ดี ทบทวนและยกระดับต้นแบบ (revised and enhance prototype) ดำเนินการและทดลองใช้(implement and use Prototype) มีปัญหา แก้ไข
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 3 การพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว (Rapid Development)
วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ วิธีที่ 3 การพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว (Rapid Development) วางแผนความต้องการ (requirement planning) ความต้องการ ออกแบบระบบโดยผู้ใช้ (user design) ตัวแบบ (model) พัฒนาระบบ (construction) ระบบสารสนเทศ นำระบบไปใช้ (cutover)
การประเมินระบบสารสนเทศ คุณสมบัติของระบบสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้องของข้อมูล (ไม่คลาดเคลื่อนหรือผิดพลาด) ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (สื่อความหมายได้ถูกต้อง) กะทัดรัด สะดวก ไม่มีเยิ่นเย้อ ทันต่อการใช้งาน รวดเร็ว ข้อมูลมีความสมบูรณ์ เข้าใจง่าย
การประเมินระบบสารสนเทศ การประเมินด้วยรูปแบบ D&M IS Success Model System Quality System Use Individual Impact Organization Impact Information Quality User Satisfaction William H. Delone and Ephraim R. Mclean Proceedings of the 35th Hawaii International Conference on System Sciences - 2002
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. (2551). การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ปานใจ ธารทัศนวงศ์. (2554). การวิเคราะห์และออกแบบระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในมุมมองด้านการบริหาร. กรุงเทพฯ : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. Delone, William H. and Ephraim R. McLean. (2002). “Information systems success revisited”. Proceedings of the 35th Hawaii International Conference on System Sciences.