การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
Good Morning.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เมษายน 2554
กลุ่ม ๔ ด้านเฝ้าระวังสอบสวนโรค เกี่ยวกับภัยหนาว ประธาน : คุณพวงเพ็ญ อ่อนสีบุตร สสจ. ลำพูน เลขานุการ : คุณชานนท์ กัณทะสู้ ผู้นำเสนอ : คุณกิตติ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนตุลาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา ธันวาคม 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 31 มกราคม 2552 สัปดาห์ที่ 4 ปี 2552 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
การประชุม War Room กระทรวงสาธารณสุข ติดตามเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 7/2556 วันที่ 5 เมษายน 2556 เวลา – น. ณ ห้องประชุม.
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
เป็น Novel Coronavirus พบครั้งแรก เม. ย ที่ซาอุดิอา ราเบีย กระจายไป 25 ประเทศ ส่วนใหญ่ตะวันออกกลาง ณ. 1 มิ. ย. 58 พบผู้ป่วยยืนยัน 1,154 ราย เสียชีวิต.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปงานระบาดวิทยาสถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
WAR ROOM โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 34
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ศูนย์ปฏิบัติการป้องกัน ควบคุมโรคตับอักเสบ ชนิด เอ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับ (1 ม. ค. 60 – 25 ธ. ค
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญของเขตสุขภาพที่ 5
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

ประเด็นที่นำเสนอ - สถานการณ์โรคไข้เลือดออก - สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญ - ตัวอย่างการสอบสวนโรคที่สำคัญ - การแจ้งข่าว

สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ณ 20 มิถุนายน 2557 สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ณ 20 มิถุนายน 2557

เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก จังหวัดนครปฐม เดือนมิถุนายน 2557 กับ เดือนมิถุนายน 2556 อัตราต่อปชกแสนคน

สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดนครปฐม ผู้ป่วยสะสม 212 ราย (เสียชีวิต 2 ราย) อัตราป่วยเป็นอันดับที่ 18 ของประเทศไทย จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย. 57)

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่ อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 25 มิ.ย. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่ จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 25 มิ.ย. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

จำนวน (ราย) อัตราป่วยต่อแสน 66 23.81 8 2.89 68 63.67 6 5.62 ตารางที่ 1 จำนวนและอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม พื้นที่ ยอดสะสม ปี 2557 (1 ม.ค. 57 – 20 มิ.ย. 57) เดือนมิถุนายน 2557 (20 พ.ค.57–20 มิ..ย 57) จำนวน (ราย) อัตราป่วยต่อแสน อำเภอเมือง 66 23.81 8 2.89 อำเภอกำแพงแสน 26 20.74 2 1.60 อำเภอนครชัยศรี 68 63.67 6 5.62 อำเภอดอนตูม 4.20 0.00 อำเภอบางเลน 11 13.43 1 1.22 อำเภอสามพราน 37 (ตาย 2 ราย) 21.96 3 1.78 อำเภอพุทธมณฑล 6.31 รวม 212(ตาย 2 ราย) 25.26 20 2.38 ที่มา : บัตรรายงานผู้ป่วยโรคเฝ้าระวัง (รง.506/507) งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐม (ข้อมูล ณ 24 มิถุนายน 2557)

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม จำแนกตามกลุ่มอายุ (ข้อมูล ณ 25 มิย 57) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

พื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมากกว่า 2 ราย (ในช่วง 1 มกราคม 2557 – 20 มิถุนายน 2557)

มาตรการสำคัญในการจัดการไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2557 รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ ร่วมมือ ร่วมจิต ช่วยชีวิตผู้ป่วย เฝ้าระวังสถานการณ์ จำนวนผู้ป่วย(ราย) โรงเรือน/ โรงเรียน/ โรงงาน/โรงพยาบาล/โรงธรรม ปิด-เปิด-กลางเทอม ตะไคร้หอมทากันยุง อสม.นำชุมชน ครม.สนับสนุน เตรียมพร้อมทีมแพทย์ ทุก รพ. จัดแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษา การจัดทำ DENGUE CORNER จัดหาสำรองเวชภัณฑ์ แนะนำกลุ่มเสี่ยงรีบมา รพ. เฝ้าระวังโรคในช่วงปลายปี เพื่อแจ้งเตือนการระบาด สรุปบทเรียนการดำเนินงาน สื่อสารความเสี่ยง สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน มีเวลาทอง เพียง 2-3 เดือน เปลี่ยนพื้นที่เสี่ยงสูงเป็น ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI<10,CI=0) คาดการณ์จำนวนผู้ป่วย มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2551-2555) คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย

สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก

สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย. 57)

ตารางที่ 2 ตำบลที่กำลังพบการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม ตารางที่ 2 ตำบลที่กำลังพบการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2557) อำเภอ ตำบล เมืองนครปฐม พระปฐมเจดีย์ บางแขม ตาก้อง ดอนยายหอม บ่อพลับ นครปฐม วังตะกู หนองปากโลง หนองดินแดง โพรงมะเดื่อ ลำพยา ทัพหลวง หนองงูเหลือม บ้านยาง กำแพงแสน ทุ่งกระพังโหม กระตีบ ทุ่งลูกนก ทุ่งกระพังโหม ห้วยขวาง ทุ่งขวาง ทุ่งบัว กำแพงแสน ห้วยม่วง รางพิกุลหนองกระทุ่ม วังน้ำเขียว นครชัยศรี แหลมบัว ศรีมหาโพธิ์ ห้วยพลู วัดละมุด บางแก้วฟ้า ลานตากฟ้า ดอนตูม สามง่าม ห้วยพระ ห้วยด้วน บางเลน บางเลน บางปลา บางไทรป่า สามพราน ท่าข้าม บางกระทึก ไร่ขิง ท่าตลาด คลองใหม่ อ้อมใหญ่ พุทธมณฑล ศาลายา คลองโยง

สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครปฐม สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครปฐม จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย 57)

ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1 ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1 เพศชาย อายุ 19 ปี สูง 176 ซม. น้ำหนัก 106 กิโลกรัม อยู่หมู่ที่ 10 ตำบลท่าตลาด อำเภอสามพราน เริ่มป่วยเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 อาการไข้ ปวดศีรษะ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 ไปรักษาที่คลินิกแห่งหนึ่งของ อ.สามพราน มีอาการ ไข้ ไอ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 อาการไม่ดีขึ้น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ จึงไปรับการรักษาที่คลินิก เอกชนอีกแห่งหนึ่ง แพทย์เจาะ Lab

ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 8.00 น. ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก จึงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสามพราน (BP 100/60 มม.ปรอท T 36 องศาเซลเซียส P 120 ครั้ง/นาที R 24 ครั้ง/นาที ผล X ray ปอดปกติ ผลการตรวจคลื่นหัวใจ ปกติ) CBC (9มีค57):WBC =12900 Hct =61.9 % Plt =11,000 แพทย์ได้ส่งต่อเข้ารับการรักษา ที่ โรงพยาบาลนครปฐม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 06.10 น. ผู้ป่วยเสียชีวิต วินิจฉัยครั้งสุดท้ายเป็นโรคไข้เลือดออกช็อก

ผู้ป่วยเสียชีวิตรายที่ 2 เพศหญิง อายุ 2 ปี 11 ด อยู่ที่หมู่บ้านเอื้ออาทรสาย 5 หมู่ที่ 13 ตำบลไร่ขิง

Admit รพ.สามพราน 19/2/57 – 21/2/57 และส่งตัวรักษาต่อ รพ. ทั่วไป อาการสำคัญ: ไข้สูง 1 วัน ก่อนมา รพ. ประวัติปัจจุบัน: - 1 วัน ก่อนมา รพ. มีไข้ ไอมีเสมหะ นานๆครั้ง มีน้ำมูกใส กินได้น้อยลง ไม่มีอาเจียน อุจจาระปกติ ปัสสาวะปกติ กินยาลดไข้มา 13.00น. ไข้ยังไม่ลงจึงมา รพ. ประวัติอดีต: ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีแพ้ยา ตรวจร่างกายแรกรับ: นน.ปกติ มีไข้

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 เข้ารับการรักษาที่รพ.สามพรานเป็นผู้ป่วยใน wbc 5,000 n 13% L73% Aty 4% plt 79,000 Hct 33.8 (21 กพ 57) wbc 7,750 Neu 7%Lym 85% Aty 6% plt 40,000 Hct33.8) จึงต่อไปรับการรักษาที่รพ.นครปฐม วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 16.10 น. เสียชีวิต

สรุปผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต 2 ราย อายุ 19 ปี และ 2 ปี สรุปผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต 2 ราย อายุ 19 ปี และ 2 ปี ไปคลินิก 2 ครั้งๆ ละแห่ง 1 ราย ไปรพ.รัฐ 1 ราย ระยะเวลาจากวันเริ่มป่วย..ถึงวันสงสัย รายแรก 4 วัน รายที่ 2 ไม่แน่ใจ ???? 2 หรือ 3 รายแรกผู้ป่วยไม่ใช่รายแรกของบ้าน สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

ประเด็นข้อสังเกต /ปัญหาที่พบ 1. จะมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง 2. การระบาดจะยังเป็นพื้นที่ที่มีการจัดการยาก มีการคมนาคมสะดวก เช่น ต.พระปฐมเจดีย์ ต.ดอนยายหอม ต.ธรรมศาลา 3.สภาพแวดล้อม มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เหมาะสมต่อการมีลูกน้ำ

ขอบคุณค่ะ Darunee Phosri