1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ.2101 2. ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การศึกษารายกรณี.
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
สาขางานการท่องเที่ยวใน วิชาการจัดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการแก้ปัญหา การไม่ส่งงาน / การบ้านของนักศึกษา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ.2101

การส่งงาน เจตคติที่ดีในการส่งงาน - สาเหตุการไม่ส่งงาน - เสริมสร้างเจตคติในการส่งงาน โดยการใช้คำพูดเสริมแรง ให้คำชมเชย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขา งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ.2101 โรงเรียน โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 จำนวน 24 คน

1. แบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน ของนักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ 2101 จำนวน 24 ชุด 2. การส่งเสริมเจตคติโดยการใช้คำพูด เสริมแรง ให้ คำชมเชย 3. การส่งเสริมเจตคติ โดยการให้ระดับผลคะแนน การส่งงาน 4. การส่งเสริมเจตคติ เป็นรายบุคคล การให้รางวัล

1. ทำให้ทราบถึงสาเหตุที่สำคัญมากที่สุด จนถึง สาเหตุที่น้อยที่สุด ในการไม่ส่งงาน คือ แบบฝึกหัดยากทำไม่ได้ ไม่มีคนคอยให้ คำปรึกษา การบ้านมากเกินไป ไม่เข้าใจคำสั่ง ครูอธิบายเร็ว เบื่อหน่ายไม่อยากทำ ไม่ได้ นำสมุดมา ไม่น่าสนใจ ช่วยเหลืองาน ผู้ปกครอง เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 2. การส่งงานวิชาหลักการเขียนโปรแกรม ของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ อยู่ ในเกณฑ์ ร้อยละ 87.50

3. ค่าเฉลี่ยของการส่งงานหลังการส่งเสริมเจต คติพบว่าสูงขึ้นกว่าเดิม ทำให้สรุปได้ว่า การที่ ครูผู้สอนได้ศึกษานักศึกษาเป็นรายบุคคล เพื่อถามถึงสาเหตุการไม่ส่งงาน และให้แรง เสริมเป็นเจตคติต่าง ๆ ทั้งในด้านคำพูด เสริมแรง, การให้ระดับผลคะแนนการส่ง งานพบว่านักศึกษา คธ มีการส่งงาน สูงขึ้น จากเฉลี่ยร้อยละ เป็นร้อยละ 87.50

4. การส่งเสริมเจตคติเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาส่ง งานตามที่ครูในรายวิชา หลักการเขียน โปรแกรม ได้มอบหมายงานหรือแบบฝึกหัดให้ นักศึกษาทำส่งครู เพื่อเป็นการตรวจสอบความ เข้าใจของนักศึกษาว่า นักศึกษามีความเข้าใจ มากน้อยเพียงใด พบว่าหลังจากการที่ ครูผู้สอน ให้การเสริมแรงเป็นการให้คำพูด ชมเชย การให้รางวัลหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในสมุดงานของนักศึกษา พบว่าร้อยละ มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป คือมีการส่ง งานเพิ่มขึ้นจากเดิม

1. ครูผู้สอนในวิชาอื่น ๆ ควรมีการสำรวจถึง เจตคติของนักศึกษาที่มีต่อพฤติกรรมในการส่ง งานของนักศึกษา เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ของนักศึกษาเป็นรายบุคคล 2. ในการสอนวิชาหลักการเขียนโปรแกรม ครูผู้สอนต้องเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด เปิดโอกาส ให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัยในขณะทำการ เรียนการสอนให้มากที่สุด

3. ควรมีการเสริมแรง ยกย่องชมเชย และ ให้กำลังใจกับนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ ในขณะที่ทำการเรียนการสอน 4. ในการวิจัยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทำ การวิจัยกลุ่มนักศึกษาในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และอาจแยกหัวข้อเป็นรายวิชาต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นำ ผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไขปัญหาในการ ไม่ส่งงาน ของนักศึกษาต่อไป